Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย, จิดาภา ตั้งอยู่ดำรงกุล…
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตของทีม MCATT
ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน
ระยะวิกฤต(ภายใน72ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ)
เกิดความเครียด หวาดผวา หวาดกลัว ช็อก วิตกกังวล สับสน
ผู้ประสบภาวะวิกฤตจะช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
มีการตื่นตัวทางสรีระและพฤติกรรม
มีพลังอย่างมากเพื่อให้รอดชีวิต
เน้นการช่วยเหลือตามสภาพความเป็นจริง
ทั้งด้านร่างกาย ความต้องการพื้นฐาน
Normal Reaction at Abnormal Situation เป็นระยะที่สําคัญต้องให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภาวะวิกฤต (PFA) และให้การช่วยเหลือที่ตรงตามความต้องการ
ระยะฉุกเฉิน(72ชั่วโมง-2สัปดาห์)
สํารวจความต้องการช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
และการให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ
กรณีพบความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต
ให้จัดทําทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและวางแผนการติดตามต่อเนื่อง
คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต
สรุปรายงานสถานการณ์เบื้องต้นพร้อมทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤตทีมMCATTเข้าพื้นที่ให้
การช่วยเหลือผู้ประสบภาวะวิกฤตในพื้นที่เสี่ยง
ระยะเตรียมการ
จัดเตรียมทีมเพื่อปฏิบัติงานให้การช่วยเหลือเยียวยา
จิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต
พัฒนาความรู้และทักษะของบุคลากรโดยการฝึกอบรมเกี่ยวกับการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต (Intervention)
จัดต้ังศูนย์อํานวยการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิต ผู้ประสบภาวะวิกฤต
/ทีม MCATT
เตรียมความรู้เรื่องการใช้แบบประเมิน/ แบบคัดกรองภาวะสุขภาพจิต
ทั้งเด็กและผู้ใหญ่
รับนโยบายจากผู้ว่าราชการจังหวัดในการเตรียมการดําเนินงานช่วยเหลือ ด้านสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต
เตรียมความพร้อมของชุมชนเพื่อรับมือกับสถานการณ์วิกฤต
เตรียมความพร้อมทั้งระดับบุคคล องค์กรและชุมชน
มีการซ้อมแผนการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต
การปฐมพยาบาลทางจิตใจ
(Psychological first Aid: PFA)
ด้วยหลักการ EASE
วิธีการประเมินผู้ได้รับผลกระทบ (Assessment:A)
การประเมินสภาพจิตใจ
ภาวะโกรธ
ให้อยู่ในสถานที่ปลอดภัยให้มีการดูแลอย่างใกล้ชิด
ให้ระบายความรู้สึกโดยใช้ทักษะการฟังอย่างตั้งใจ
และพูดสะท้อนอารมณ์
ภาวะต่อรอง
สนองความต้องการในสิ่งที่สามารถให้ได้
การให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ที่เป็นจริงตามความเหมาะสม
อดทน รับฟัง ไม่แสดงอาการท่าทางเบื่อหน่าย
ทักษะการประเมินอารมณ์ ความรู้สึกผู้ประสบภาวะวิกฤต
และทักษะการบอกข่าวร้าย
ภาวะช็อกและปฏิเสธ
ให้ผู้ประสบภาวะวิกฤตระบายความรู้สึก
และใช้เทคนิคการสัมผัสตามความเหมาะสม
ให้ความช่วยเหลือตามความต้องการอย่างรีบเร่ง
ให้อยู่ในสถานที่ที่สงบ เตรียมนํ้า ยาดม ให้นั่งหรือ นอนราบ คลายเสื้อผ้ากรณีที่เป็นลมหรือหายใจไม่ออก
ภาวะเสียใจ
การช่วยเหลือทางกายทําได้โดยหาผ้าเช็ดหน้า นํ้าเย็น ผ้าเย็น อาจใช้การฝึกหายใจแบบ Breathing Exercise หรือใช้การสัมผัส (Touching)
การประเมินภาวะฆ่าตัวตาย
อารมณ์สงบ
ลดเงื่อนไขในการต่อรองลงอาจต่อรอง
รับฟังมากขึ้นยอมรับข้อมูล
อาจมีการหดหู่ ท้อแท้ ไม่มีกําลังใจ
อาจเข้าสู่อาการภาวะซึมเศร้าได้
ประเมินความต้องการทางสังคม
ถ้าไร้ญาติขาดมิตร ประสานกํานันหรือหน่วยงานที่
ให้ความช่วยเหลือด้านที่พักอาศัย เพื่อหาที่พักพิงชั่วคราวให้
ต้องการความช่วยเหลือ ด้านการเงิน ทุนการศึกษา
ให้ติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ต้องการพบญาติ หรือครอบครัวให้ติดต่อประสานโดยการโทรศัพท์
ประเมินและตอบสนอง
ความต้องการทางด้านร่างกาย
เป็นลม ควรจัดหายาดมแอมโมเนีย ผ้าเย็นเช็ดหน้าและแขน
กําลังอยู่ในสิ่งแวด้ลอมที่ไม่ปลอดภัย ให้เคลื่อนย้าย
ผู้ประสบภาวะวิกฤตไปอยู่ในที่ปลอดภัย
มีอาการอ่อนเพลีย ควรจัดหานํ้าให้ดื่ม หาอาหารให้รับประทาน
ได้รับบาดเจ็บทางด้านร่างกายก็ต้องบรรเทาความเจ็บปวดด้วยการให้ยา
วิธีการเรียกขวัญคืนสติลดความเจ็บปวด
ทางใจเสริมสร้างทักษะ(Skills:S)
ทักษะการ Grounding
การนวดสัมผัส และ การนวดกดจุดคลายเครียด
Touching skill (การสัมผัส)
การลดความเจ็บปวดทางใจ
การสะท้อนความรู้สึก
การเงียบ
การฟังอย่างใส่ใจ
การทวนซำ้
การฝึกกําหนดลมหายใจ (Breathing exercise)
การเสริมสร้างทักษะ
วิธีการสร้างสัมพันธภาพและการเข้าถึงจิตใจ
ของผู้ได้รับผลกระทบ(Engagement:E)
การสร้างสัมพันธภาพ
รับฟังด้วยท่าทีที่สงบให้กําลังใจ ด้วยการพยักหน้า การสัมผัส
การแสดงออกของ ผู้ให้การช่วยเหลือควรเหมาะสม
กับเหตุการณ์อารมณ์ความรู้สึก
มีการแนะนํา ตัวเอง มีการมองหน้าสบตา
การสื่อสาร
เน้นถึงความรู้สึกขณะนั้น แต่ไม่ควรซักถามถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
นอกจากผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตอยากเล่า
ควรเริ่มพูดคุยเบื้องต้นเมื่อผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตมีความพร้อม
การสังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม
Nonverbal
กํามือ ผุดลุกผุดนั่ง ลุกลี้ลุกลน ตะโกน เอามือกุมศีรษะหรือนั่งแบบหมดอาลัยตายอยาก นั่งนิ่งไม่ขยับเขยื้อน เดินไปเดินมา
Verbal
พูดสับสนฟังไม่รู้เรื่อง ด่าทอ ร้องขอความช่วยเหลือ
พูดซำ้ไปซำ้มา พูดวกวน
วิธีการให้สุขภาพจิตศึกษาและ
ข้อมูลที่จําเป็น(Education)
เติมเต็มความรู้
ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้นจากความเครียด
ติดตามต่อเนื่อง
ติดตามโดยการนัดหมายมาพบที่สถานบริการสาธารณสุข
ตรวจสอบความต้องการ
ถามถึงข้อมูลและตรวจสอบความต้องการช่วยเหลือที่จําเป็น และเร่งด่วน
จิดาภา ตั้งอยู่ดำรงกุล 6001210217 Sec B (10)