Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน shutterstock_766441744 (1) - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบประสาท
การบาดเจ็บที่ศีรษะและสมอง
(Head injury)
ชนิดการบาดเจ็บศีรษะและสมอง
กลไกการบาดเจ็บออกเป็น Blunt และ Penetrating injury
ความรุนแรง
severe head injury GCS 3-8
moderate head injury GCS 9-12
Mild head injury GCS 13-15
พยาธิสภาพส่วนต่างๆของสมอง
การตายกับการบาดเจ็บที่ศีรษะ
สมองบาดเจ็บเบื้องต้น
IICP และโรคแทรกซ้อนนอกกะโหลกศีรษะ
Talk and die จากก้อนเลือด, สมองบวม, Hydrocephalus
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บศีรษะและสมอง
การประเมินสภาพของผู้ป่วย
ประเมินให้เสร็จในเวลา 3-4 นาที
การซักประวัติการบาดเจ็บอย่างรวดเร็ว
ประเมินภาวะอันตรายที่คุกคามชีวิต
่การหายใจและการไหลเวียนของเลือด
วัดความดันโลหิต
ประเมินอาการทางระบบประสาท
สอบถามการเจ็บปวดบริเวณลำคอ ท้ายทอย
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยวิธีท่อนซุง
จัดทางเดินหายใจให้โล่ง
เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง ใช้ Oropharyngeal airway
ให้ออกซิเจนโดยทาง Mask 6-10 ลิตร/นาที
ใช้ Ambu bag บีบลมเข้าปอด 12-24 ครั้ง/นาท
ห้ามเลือด และช่วยการไหลเวียนเลือดให้เพียงพอ
ประเมินบาดแผล
ต้องห้ามเลือดให้หยุดทันทีด้วยวิธีพันหรือกดให้แน่น
Capillary filling time นานกว่า 2 วินาที ให้ Lactate Ringer's solution
บาดเจ็บของศีรษะเพียงอย่างเดียว ให้ 5/D/NSS/2 หรือ Ringer Lactate
การป้องกันภาวะสมองบวม
คาร์บอนไดออกไซด์คั่ง
จัดให้ผู้ป่วยนอนตะแคงในท่ากึ่งคว่ำ
ดูดเสมหะในปากและลำคอ ตามความจำเป็น
ใส่ Oropharyngeal airway
การนอนในท่าที่ไม่เหมาะสม
จัดท่าศีรษะสูง 20 – 30 องศา
จัดบริเวณคอให้อยู่ในแนวตรง
เลี่ยงการจัดท่างอสะโพกเกิน 90 องศา
ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับสารน้ำที่ถูกต้องตามแผนการรักษาของแพทย์
. การป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่สมอง
ใช้ผ้ากอซ Sterile ปิดแผลที่กะโหลกศีรษะ
ห้ามใช้สำลีหรือผ้ากอซอุดในรูจมูก หรือรูหูข้างที่น้ำซึมออกมา
ควบคุมภาวะชักเพื่อลดการใช้ออกซิเจนของสมอง
ควบคุมการอาเจียนเพื่อป้องกันการสำลัก
การพยาบาลเบื้องต้น
Glasgow Coma Score 13-15
มักจะไม่มีอาการผิดปกติทางระบบประสาท
พยาบาลควรสังเกตอาการอย่างน้อย 2-3 ชั่วโมง
เมื่อกลับบ้านควรให้คำแนะนำ
การสังเกตอาการผิดปกติ นำส่งโรงพยาบาลทันที
นอนศีรษะสูง 30 องศา
รายที่หลับตลอดเวลา ควรปลุกตื่นทุก 1-2 ชั่วโมง
ให้รับประทานยาแก้ปวด
Glasgow Coma Score 9-12
มีอาการอารมณ์เปลี่ยนแปลง
ปวดหัวมาก ชัก อาเจียน
บาดเจ็บหลายระบบร่วมกัน
ประเมินสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
Glasgow Coma Score 3-8
มีอาการระดับความรู้สึกตัวลดลง
มีโอกาสเสียชีวิตสูงมาก
Primary Survey
A. Airway with Cervical spine control
B. Breathing
C. Circulation
การบาดเจ็บที่ไขสันหลัง
Spinal cord injury
Spinal shock
ได้รับการบาดเจ็บที่ไขสันหลังใหม่ๆ
การประเมินต้องรอไประยะหนึ่งส่วนมากจะหาย
ภายในระยะเวลาเป็นวันหรือไม่กี่สัปดาห์
Complete cord injury
ไม่มีการทำงานของประสาทสั่งงานหรือประสาท
ใช้ Sacral sparing definition เป็นตัว
การพยาบาล
เป้าหมายแรก การรักษาชีวิตและป้องกันการทำลายสันหลังเพิ่มเติม
ก่อนเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ต้องจัดท่ากระดูกสันหลังให้นิ่งก่อน
การประเมินสภาพของผู้ป่วย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกายทั่วไป
ตรวจหาการบาดเจ็บส่วนอื่นๆ
ประเมินสภาพจิตใจ
การประเมินการหายใจ
ช่วยผายปอด โดยการใช้ Ambu ต่อออกซิเจน
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง โดยใช้วิธี Jaw thrust maneuver
จัดคอให้ตรงก่อนเสมอ และดามด้วยปลอกคอ
ให้ออกซิเจนในรายที่ไม่มี gag reflex
ประเมินสีผิว ความอิ่มตัวของกาซออกซิเจน การหายใจ
ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพ
ทุก 1/2-1 ชั่วโมง
การพลิกตัวและการเคลื่อนย้าย
ให้แนวกระดูกสันหลังผู้ป่วยตรง
ใช้ผู้ช่วย 3 – 4 คนช่วยยกผู้ป่วยขึ้นพร้อมกัน
เมื่อมาถึงโรงพยาบาล จัดกระดูกให้เข้าที่และตรึงไว้ด้วย skeletal traction
หนุนไว้ด้วยหมอนฟองน้ำให้แนวกระดูกสันหลังตรงและอยู่ในท่าแอ่น
5.การให้ยา
Atropine ที่ใช้รักษาอัตราการเต้นของหัวใจ
การให้ Methylprednisolone จะต้องให้ภายใน 8 ชั่วโมง
ยากลุ่ม histamine H2 receptor
antagonist เพื่อลด stress ulcer
ในรายที่ท้องอืดดูแลให้งดน้ำและอาหาร ทางปาก
ใส่สายสวนคาปัสสาวะไว้
ติดตามเฝ้าระวังการตกเลือด ความรู้สติ
เตรียมส่งผู้ป่วยตรวจรังสี
10 เตรียมผ่าตัดตามแผนการรักษา
โรคหลอดเลือดสมอง (stroke)
ความผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมอง
ชนิดสมองขาดเลือด (Ischemic Stroke)
เกิดจากอุดตันของหลอดเลือดทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
มักเกิดร่วมกับภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง
สาเหตุจากไขมันเกาะตามผนังหลอดเลือดจนทำให้เกิดเส้นเลือดตีบแข็ง
แบ่งชนิดย่อยได้อีก
โรคหลอดเลือดขาดเลือดจากภาวะหลอดเลือดสมองตีบ (Thrombotic Stroke) เป็นผลมาจากหลอดเลือดแดงแข็ง
โรคหลอดเลือดขาดเลือดจากการอุดตัน (Embolic Stroke) เกิดจากการอุดตันของหลอดเลือด
ชนิดเลือดออกในสมอง (Hemorrhagic Stroke)
เกิดจากภาวะหลอดเลือดสมองแตกหรือฉีกขาด ทำให้เลือดรั่วไหลเข้าไปในเนื้อเยื่อสมอง
แบ่งชนิดย่อยได้อีก
โรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง (Aneurysm) เกิดจากความอ่อนแอของหลอดเลือด
โรคหลอดเลือดสมองผิดปกติ(Arteriovenous Malformation) ที่เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดสมองตั้งแต่กำเนิด
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้
มีอายุมากกว่า 65 ปี
เพศชาย มีความเสี่ยงมากกว่าเพศหญิง
ประวัติครอบครัวเป็นโรคหลอดเลือดสมอง
หรือโรคหลอดเลือดหัวใจ
ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงได
การสูบบุหรี่
ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน
ไขมันในเลือดสูง
อาการของโรค
อาการอ่อนแรง
อาการอัมพฤกษ์ที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
อาการชา หรือสูญเสียความรู้สึกของร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่ง
พูดไม่ได้พูดติด เสียงไม่ชัด
เดินเซ หรือมีอาการเวียนศีรษะเฉียบพลัน
เห็นภาพซ้อน
อาการบ่งชี้หลอดเลือดสมอง
“F A S T ”
F = Face เวลายิ้มพบว่ามุมปากข้างหนึ่งตก
A = Arms ยกแขนไม่ขึ้น 1 ข้าง
S = Speech มีปัญหาด้านการพูดพูดแล้วคนฟังฟังไม่รู้เรื่อง
T = time ผู้มีอาการดังกล่าวต้องรีบไปโรงพยาบาล
แนวทางการพยาบาลเบื้องต้น
1 จัดให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยเข้าสู่ห้องฉุกเฉินโดยเร็ว (ภายใน 3นาที)
ซักประวัติอาการสำคัญ มีมากกว่า 1 ใน 5 อย่าง
การประเมิน
สัญญาณชีพ (vital signs)
พิจารณา Basic life support/ Advanced life support
อาการแสดงทางระบบประสาท (neurological signs)
รายงานแพทย์ทันที
ส่งตรวจวินิจฉัยโรคตามแผนการรักษา
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ส่งตรวจพิเศษ CT brain non contrast
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหายใจ
ลักษณะและอาการแสดง
กระดูกซี่โครงหัก (Fractures of the Ribs)
ตรวจประเมินเพื่อวินิจฉัยภาวะ internal injury และภาวะ Shock เสมอ
มีอาการปวดบริเวณที่หักและหายใจลำบาก
กดเจ็บบริเวณที่หัก
ภาวะอกรวน (Flail Chest)
ขณะผู้ป่วยหายใจเข้าจะทำให้บริเวณที่หักยุบ
และขณะหายใจออกบริเวณที่หักจะยกสูงกว่าส่วนอื่น
กระดูกซี่โครงหักอย่างน้อย 2 แห่ง
การหายใจมีปริมาณออกซิเจนลดลง และการระบาย CO2 ลดลง
ผู้ป่วย Flail Chest มักเกิดร่วมกับ Pneumothorax เสมอ
ผนังทรวงอกทะลุฉีกขาด (Penetrating Chest Wounds)
Tension Pneumothorax
อาจทำให้ปอดแฟบ เกิด mediastinum shift ไปฝั่งตรงข้าม
เกิด Hypotension ได้
มีลมรั่วจากปอด อากาศภายนอกเข้าไปในโพรงเยื่อหุ้มปอด
แล้วลมไม่สามารถออกมาสู่ภายนอกได้ (one way valve)
Massive Hemothorax
เกิดเลือดออกในโพรงเยื่อหุ้มปอด มากกว่า 1,500 ml
ผู้ป่วยที่ Shock แล้วไม่พบ Breath sound เคาะทึบ (Dullness) ที่ปอดข้างใดข้างหนึ่งให้ สงสัยภาวะ Massive hemothorax
อาจพบ Neck vein แฟบจาก Hypovolemia
Cardiac temponade
เกิดจากเลือดเข้าไปอยู่ในโพรงเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardial sac)
ยจะมีอาการ Neck vein engorge หรือ High CVP
การวินิจฉัยค่อนข้างยาก แต่อาจพบ EKG แบบ PEA
ภาวะฉุกเฉินรุนแรงที่เกิดจากการบาดเจ็บทรวงอก
Hypercapnia
เกิดจากการ Ventilation ไม่เพียงพอ
ผู้ป่วยเกิดภาวะสมองพร่องออกซิเจนและระดับความรู้สึกตัวลดลง
Tissue hypoxia
เกิดหลังบาดเจ็บทรวงอกจนทำให้เกิดการเสียเลือด
การเปลี่ยนแปลงของความดันอาจทำให้การขนส่งออกซิเจนไปส่วนต่างๆของร่างกายไม่เพียงพอ
Metabolic acidosis
จากการเพิ่ม Lactic acid ในร่างกาย
การพยาบาลเบื้องต้น
A. Airway ฟังเสียงหายใจและค้นหาสิ่งแปลกปลอมที่ทำให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
B. Breathing อาการสำคัญที่จะพบ การหายใจเร็ว ลักษณะการหายใจเปลี่ยนไป การหายใจตื้น ประเมินภาวะ Hypoxia
C. Circulation คลำชีพจร ตรวจความดันโลหิต สี ประเมินความโป่งพองของเส้นเลือดดำที่คอ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บทรวงอก
ทำการสำรวจขั้นต้น ช่วยให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวก
ดูแลการไหลเวียน ถ้าผู้ป่วยอยู่ในภาวะ Shock ควรให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ หรือให้เลือด
วัดสัญญาณชีพ เพื่อดูอาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
Immediately life-threatening injuries
ตรวจพบ Flail chest
นำส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด
ใช้หมอนรองบริเวณที่หัก ใช้ผ้าพันรอบทรวงอก
ในกรณีที่มีการบาดเจ็บรุนแรง
ใช้ mouth-to-mask หรือ bag-valve-mask resuscitation devices
กระดูกซี่โครงหักแบบธรรมดา
กระดูกซี่โครงหักแบบธรรมดา
แผลเปิดลักษณะปากแผลถูกดูดขณะหายใจเข้า ให้สงสัยว่าเกิดภาวะ Hemothorax
ซี่โครงหักหลายซี่ในจุดเดียวกันให้นอนทับด้านที่บาดเจ็บ
ทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในท่านั่ง
ใช้ผ้าพับพันบริเวณทรวงอกจนถึงส่วนล่างสุดให้แน่น
ตรวจพบ Penetrating Chest Wounds
ถ้ามีTension Pneumothorax นำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด
กรณีมีดปักอยู่ห้ามดึงมีดออกแต่ให้ปิดแผลให้หนาแน่น
รู้สึกตัวดีให้จัดท่าผู้ป่วยอยู่ในท่านั่ง
ปิดแผลอย่างเร็วที่สุด