Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด - Coggle…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
การพยาบาลมารดาที่มีการติดเชื้อหลังคลอด
ประเภทของการติดเชื้อ
การติดเชื้อเฉพาะที่เป็นการติดเชื้อที่บริเวณบาดแผลที่อวัยวะสืบพันธุ์ภาย
นอกเช่นฝีเย็บช่องคลอดหรือภายในเช่นปากมดลูกเยื่อบุมดลูก
การติดเชื้อเกิดขึ้นเฉพาะที่ไม่ลุกลามต่อไป
เป็นการติดเชื้อแพร่กระจายการติดเชื้อลุกลามไปนอกมดลูกเมื่อ
มีการติดเชื้อที่อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกแล้วมีการแพร่กระจายไปยัง
บริเวณใกล้เคียง
อาการที่พบ
การมีไข้หลังคลอด ลักษณะของอุณหภูมิจะสูง 38 องศาเซลเซียสหรือ 100.4 องศาฟาเรนไฮท์ หรือสูงกว่าติดต่อกัน 2 วันในช่วง 10 วันแรกไม่นับ 24 ชม. แรกคลอดทั้งนี้ต้องเป็นการวัดที่ถูกต้อง ตามเทคนิควัตอย่างน้อยวันละ 4 ครั้ง และต้องแยกออกจากการติดเชื้อ นอกระบบสืบพันธุ์ เช่น กระเพาะปัสสาวะอักเสบ การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน
การติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์สตรีในระยะ 6 สัปดาห์แรกหลังคลอดหรือภายใน 28 วันหลังแท้ง
การอักเสบเป็นหนองในอุ้งเชิงกราน (Parametritis)
กิจกรรมการพยาบาล (Implementation)
เมื่อมีอาการ: จัดให้พักผ่อนเพียงพอ ไม่แพร่กระจายเชื้อแก่ผู้อื่น ทําแผลระบายหนองในรายที่แผลอกั เสบ
ป้องกันการติดเชื้อ :แนะนําการรักษาสุขภาพ สุขวิทยาส่วนบุคคลการทําคลอดถูกวิธี ถูกเทคนิค
การวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing diagnosis) การวินิจฉัยการพยาบาลกำหนดตามข้อมูลที่ได้มากำหนดปัญหาตัวอย่างเช่นขาดความรู้ามรู้ในการดูแลตนเองมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับอาการป่วย: มีอาการปวดท้องอย่างรุนแรงมีภาวะเสี่ยงต่อการหมดสติจากพยาธิสภาพของโรค: ไม่สามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้
อาการ
มีอาการหนาวสั่นชีพจรเบาเร็ว
4.ซีด
เบื่ออาหารอาเจียนบางครั้งมีอุจจาระเหลว
กดหน้าท้องไม่เจ็บถ้ามดลูกเข้าอู่ แล้วน้ำคาวปลาอาจไม่มาก อาจคลำได้ก้อนที่หน้าท้องทวารหนัก หรือในช่องคลอดอาจเจ็บที่หน้าท้องข้างเดียวหรือสองข้าง
มีเข้สูงลอยหรือขึ้น ๆ ลง ๆ อุณหภูมิอยู่ระหว่าง 38.9.39.4 องศาเซลเซียส
อาจมี Endotoxic shock
เต้านมอักเสบ (Mastitis)
การป้องกัน
รักษาความสะอาดของเต้านม สวมใส่ยกทรงที่พอเหมาะชว่ ยพยุงเต้านม ทําความสะอาดเต้านมก่อนกลังให้นมบุตร
หัวนมแตกต้องรีบแก้ไขอย่าปล่อยไว้ ดู
แลให้มารดาให้นมทารกได้ถูกวิธี
อาการการติดเชื้อมักเกิดเฉพาะบริเวณหัวนมหรือเต้านมข้างใดข้างหนึ่ง
เจ็บปวดบริเวณเต้านมรู้สึกเต้านมหนัก ๆ
ผิวหนังบริเวณเต้านมมีลักษณะแดงตึงแข็งเจ็บปวด (Infcanation) ผิวหนังจะนุ่มเป็นมันอาจมีหนองหรือไม่มีหนองไหลออกมาก็ได้ขึ้นกับความรุนแรงของการอักเสบ
ไข้สูง 38.5-40 c ชีพจรเร็วอาการหนาวสั่นปวดศีรษะอ่อนเพลีย
ต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้อาจโตและเจ็บ
สาเหตุ
จากการบีบนวดเต้านมมาก ๆ เช่นในรายที่นมคัด
เต้านมคัดมากท่อน้ำนมอุตตันทำให้น้ำนมไหลออกมาไม่ได้
1 หัวนมแตกถลอกหรือมีรอยแตกซึ่งส่วนมากจะเกิดจากการที่ทารกดูดนมนานเกินไปหรือดูดไม่ถูกวิธีเชื้อจะเข้าไปตามหลอดน้ำเหลืองของท่อน้ำนม
จากการดูดนมของทารกที่มีเชื้อในจมูกและคอโดยเชื้อเข้าสู่ท่อนมโดยตรง
คลอดการบวมเลือดหรือก้อนเลือดคั่ง (Hematoma)
การพยาบาล
ป้องกันการบวมเลือดในรายที่มีความเสี่ยงโดยวางกระเป๋าน้ำแข็งที่ฝีเย็บในชั่วโมงแรกหลังคลอด
ถ้าเกิดก้อนเลือดบวมบริเวณที่เกิดจะเป็นก้อนแข็งกดเจ็บพยาบาลต้องประเมินขนาดของก้อนเลือดตั้งแต่แรกเพื่อใช้เปรียบเทียบอาการ
ก้อนเลือดขนาดเล็กให้ประคบเย็นเพื่อลดอาการบวมและติดตามประเมินขนาดของก้อนเลือด แต่ถ้าก้อนเลือดขนาดใหญ่จำเป็นต้องผ่าตัดเพื่อระบายเลือดและผูกหลอดเลือดหรือบางรายอาจใส่ท่อระบายไว้
ให้การดูแลตามอาการเช่นบรรเทาอาการปวดด้วยการให้ยาลดปวดประคบเย็นหากมีอาการช็อคต้องดูแลรักษาอาการและส่งผ่าตัดเพื่อหยุดเลือดโดยเร็ว
อาการและอาการแสดง
ถ้ามีการบวมเลือดบริเวณของทางคลอดมารดาจะรู้สึกเจ็บปวดบริเวณฝีเย็บ หรือทวารหนักมากหลังคลอด แต่ถ้าเกิดการบวมเลือดบริเวณอื่น ๆ มารดาก็มีอาการปวดบริเวณนั้นตามแรงกดของก้อนเลือด หากก้อนเลือดมีขนาดใหญ่ก็จะทำให้มารตาเกิดภาวะตกเลือดตามมาได้ โดยอาการตกเลือดอาจไม่สัมพันธ์กับจำนวนเลือดที่ออกทางช่องคลอด
สาเหตุของการเกิดในหญิงหลังคลอด
การเย็บซ่อมแซมแผลฝีเย็บหรือแผลฉีกขาดที่ฝีเย็บไม่ดี
การบีบคลึงมดลูกรุนแรงทำให้เลือดคั่งใต้เยื่อบุช่องท้องและใน broad ligament
เกิดจากการบาดเจ็บจากการคลอดในรายที่คลอดเองหรือทำสูติศาสตร์หัตถการ
ภาวะมดลูกไม่เข้าอู่ (Subinvolution)
อาการและอาการแสดง
น้ำคาวปลาออกมากกว่าปกติมีสีแดงตลอดมีกลิ่นเหม็น
มดลูกนุ่มและใหญ่กว่าปกติระดับยอดมดลูกไม่
ลดลงกดเจ็บหรือมีอาการปวดมดลูก
3 มีใช้
อาจเกิดการตกเลือดระยะหลัง (Late PPH)
การพยาบาล
ถ้าไม่มีการติดเชื้อร่วมด้วยแพทย์อาจให้
ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ในกรณีที่เกิดจากมีรกค้างแพทย์จะทำการขูดมดลูกเพื่อ
เอาเศษรกออกพยาบาลจึงต้องเตรียมมารดาสำหรับการขูดมดลูก
มารดาหลังคลอดอาจต้องนอนโรงพยาบาลเพื่อให้ยาปฏิบัติชีวนะหาก พบว่ามีการติดเชื้อร่วมด้วยจึงต้องแนะนำการดูแลรักษาและการปฏิบัติตัว
แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพอการรับประทานอาหารที่มี
ประโยชน์การส่งเสริมให้น้ำคาวปลาไหลได้สะดวกการรักษา
ความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
สาเหตุ
การผ่าตัดคลอด
ทารกไม่ได้ดูดนมมารดา
ภาวะที่ทำให้มดลูกหดรัดตัว
มีการติดเชื้อภายในมดลูก
มดลูกคว่ำหน้าหรือคว่ำหลังมาก
การพยาบาลมารดาที่มีจิตใจแปรปรวนหลังคลอด
อารมณ์เศร้าหลัง คลอด(Postpartum blue)
อาการและอาการแสดง
ร้องไห้ไม่มีเหตุผล นอนไม่หลับกระสับกระส่าย อาการจะหายเอง 2-3 สัปดาห์ หรือ รุนแรงขึ้นถ้าไม่ได้รับ การดูแลที่เหมาะสม
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum prychosis)
อาการและอาการแสดง
รู้สึกว่า ตนเองไร้ค่า อ่อนเพลียไม่มีแรง มีความคิดอยู่ในสภาพความเป็นจริง ท้อแท้ สิ้นหวัง
โรคจิตหลังคลอด(Postpartum prychosis)
การพยาบาล
ให้มารดาได้รับความสุขและมีสุขอนามัยที่ดีให้มารดาได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม
อาการ
พบได้เร็ว มีอาการรุนแรง รู้สึกว่าตัวเองไร้ค่า ไม่มีแรง หลงผิด
เห็นภาพหลอน หวาดระแหวง ปฏิเสธการเลี้ยงดูบุตร