Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:pregnant_woman::skin-tone-2: 5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน - Coggle Diagram
:pregnant_woman::skin-tone-2:
5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน
:one:โรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์
(Gestational diabetes mellitus, GDM)
ความหมาย
เบาหวานระหว่างตั้งครรภ์
(Gestational diabetes mellitus, GDM)
ตรวจพบ
ครั้งแรก
ระหว่างการตั้งครรภ์
อาจจะยังคงอยู่หลังคลอด
พบความผิดปกติของความคงทนต่อน้ำตาลกลูโคส
เบาหวานก่อนตั้งครรภ์(Pregestational diabetes mellitus, Overt Diabetes mellitus)
เป็นเบาหวานก่อนการตั้งครรภ์ (ก่อนอายุครรภ์ 24 สัปดาห์)
พยาธิสภาพ
ตับอ่อนผลิตอินซูลินได้
ไม่เพียงพอกับความจำเป็น
ในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต
กลูโคสไม่สามารถ
เข้าไปในเซลล์ได้
จึงยังคงอยู่ในกระแสเลือด
เซลล์ร่างกายขาดพลังงาน จึง oxidize
ไขมันและโปรตีนในเนื้อเยื่อเพื่อใช้
เป็นแหล่งพลังงานทดแทน
เกิดการสูญเสียไขมันและ
เนื้อเยื่อของร่างกาย
เสียสมดุลของ nitrogen
มีการแตกทำลายของโปรตีนเกิดภาวะ
ketosis จากการเผาผลาญไขมัน
ความเข้มข้นของกลูโคสในเลือดสูง
ผลกระทบของโรคเบาหวาน
ผลของการตั้งครรภ์
ต่อโรคเบาหวาน
ทำให้การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดยากขึ้น
เกิดภาวะ diabetic ketoacidosis ได้ง่าย
ความต้องการอินซูลินไม่แน่นอน
ผลของโรคเบาหวานต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
Diabetic nephropathy
Pregnancy induced hypertension : PIH
Diabetic retinopathy
Infection
Preterm birth
Polyhydramnios
dystocia
Postpartum hemorrhage
ผลต่อทารก
ผลต่อทารกในครรภ์
ทารกตายในครรภ์หรือตายคลอด (Fetal death or Stillbirth)
ทารกมีขนาดใหญ่กว่าปกติ (Macrosomia)
ความพิการแต่กำเนิด (Malformation)
การแท้ง (Abortion)
ทารกในครรภ์เกิดการชะงักงันของการเจริญเติบโต (Intrauterine growth restriction: IUGR)
ผลต่อทารกแรกคลอด
ภาวะหายใจลำบาก (Respiratory distress syndrome: RDS)
ภาวะแคลเซี่ยมในเลือดต่ำ (Neonatal hypocalcemia)
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำในทารก (Neonatal hypoglycemia)
ภาวะน้ำดีในเลือดสูง (Hyperbilirubinemia)
ภาวะเลือดแดงข้น (Polycythemia)
ความผิดปกติของหัวใจ
(Hypertrophic and congestive cardiomyopathy)
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (Inheritance of diabetes)
การจำแนกชนิดของเบาหวานขณะตั้งครรภ์
Pregestational Diabetes (Overt DM)
Type I diabetes or Insulin
dependent diabetes mellitus (IDDM)
Type II diabetes or Noninsulin
dependent diabetes mellitus (NIDDM)
Gestational Diabetes Mellitus (GDM)
GDM A-1
2-hour post prandial glucose < 120 mg/dl
fasting plasma glucose < 105 mg/dl
GDM A-2
fasting plasma glucose > 105 mg/dl
2-hour post prandial glucose > 120 mg/dl
แนวทางการวินิจฉัยเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์
:one: การคัดกรองขณะตั้งครรภ์
1.1 การประเมินภาวะเสี่ยง
ประวัติโรคเบาหวานในครอบครัวชัดเจน
มีประวัติ GDM ในอดีต
BMI> 27 kg/m2
ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ
อายุมากกว่า 35 ปี
ประวัติการคลอดผิดปกติ
1.2 การตรวจคัดกรองด้วย 50 กรัม
Glucose challenge test
วิธีการตรวจ
ขณะอายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์
ทำโดยไม่คำนึงถึงมื้ออาหารที่ผ่านมา
ให้ดื่มน้ำตาลกลูโคส50กรัมแล้วตรวจเลือดหลังดื่ม 1 ชั่วโมง
แปลผลการตรวจ
200 mg/dl = GDM
Plasma glucose >140 mg/dl ส่ง OGTT
140-199 mg/dl นัด 1 wk. มาตรวจ DM
การดูแลรักษา
:one:การดูแลรักษาหญิงตั้งครรภ์
ที่เป็นโรคเบาหวานก่อนการตั้งครรภ์
1.1การดูแลก่อนตั้งครรภ์
สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม
การเสริมวิตามิน Folic
การให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์
การประเมินพยาธิสภาพ
การควบคุมระดับกลูโคส
การออกกำลังกาย
1.2 การดูแลในระยะตั้งครรภ์
การใช้ Insulin
ควบคุมน้ำหนัก
งดอาหารน้ำตาล
ความสะอาดของร่างกาย
ควบคุมน้ำตาล (FBS ไม่เกิน 95 mg%, 2PP ไม่เกิน 120 mg%)
การสังเกตเด็กดิ้น
ควบคุมอาหาร (C:55%, F:25%, P:20%)
การสังเกตภาวะแทรกซ้อน
1.3 การดูแลในระยะคลอด
เมื่อเข้าสู่ Active phase ถ้าระดับน้ำตาลต่ำกว่า 70 mg/dl เปลี่ยนสารน้ำเป็น
5% dextrose เริ่มต้นที่ 100-150 cc/hr จนกว่าระดับน้ำตาลจะถึง 100 mg/dl
ตรวจระดับน้ำตาลทุก 1 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการปรับอินซูลิน และสารน้ำ
เริ่มต้นสารน้ำเป็น normal saline ก่อน
ให้ regular insulin 1.25 unit/hr เมื่อระดับน้ำตาลสูงกว่า 100 mg/dl
งด insulin มื้อเช้าไปก่อน
แนะนำให้ผ่าตัดคลอดในรายที่ประเมินน้ำหนักมากกว่า 4,500 กรัม
ให้ Intermediated acting insulin ก่อนนอน
น้ำหนัก 4,000 กรัม แต่ไม่ถึง 4,500 กรัม ให้พิจารณา
ให้คลอดทางช่องคลอดได้ แต่เฝ้าระวังการคลอดติดขัด (CPD)
1.4 การดูแลในระยะหลังคลอด
แนะนำการคุมกำเนิดโดยการใช้ Barrier method เช่น
condom, diaphragm หรือ spermicide สามารถ
ใช้ได้โดยไม่มีผลกระทบต่อระดับน้ำตาลในเลือด
สามารถให้นมบุตรได้ตามปกติ
:two: การดูแลรักษาหญิงตั้งครรภ์
ที่เป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
การดูแลขณะตั้งครรภ์
:runner:การออกกำลังกาย
:syringe:การรักษาด้วยอินซูลิน
:bread:การควบคุมอาหาร
:baby_symbol:การติดตามสุขภาพทารกในครรภ์
การกำหนดเวลาคลอด
(Timing of delivery)
GDM class A2 ควรให้คลอดก่อนอายุครรภ์ 38 สัปดาห์
เพื่อป้องกันการเสียชีวิตของทารกในครรภ์
ในรายที่มีภาวะแทรกซ้อน เช่น ทารกขาดออกซิเจน มารดามีภาวะความดัน โลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ หรือการควบคุมน้ำตาลไม่ดีพอ พิจารณาให้คลอดเร็วขึ้น
GDM class A1 ควรให้คลอดเมื่อครรภ์ครบกำหนด
การดูแลขณะคลอด
การชักนำการคลอด (induction of labor)
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง (cesarean section)
ในรายที่ล้มเหลวในการชักนำการคลอด
การรักษาด้วยอินซูลินระหว่างคลอด
การดูแลหลังคลอด
สามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาตาปกติ
การดูแลทารกแรกคลอด
เจาะเลือดดูระดับน้ำตาล
เมื่อ 1 ชั่วโมงหลังคลอด
การรักษาด้วยอินซูลินระยะหลังคลอด
แนะนำการคุมกำเนิดโดยการใช้ Barrier method เช่น
condom, diaphragm หรือ spermicide สามารถ
ใช้ได้โดยไม่มีผลกระทบต่อระดับน้ำตาลในเลือด
:two:ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานมาก
หรือต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
หรือคอพอกเป็นพิษในหญิงตั้งครรภ์
(Hyperthyroidism , Thyrotoxicosis)
สาเหตุ
:diamond_shape_with_a_dot_inside:โรคพลัมเมอร์ (Plummer’s disease หรือ
Toxic multinodular goiter)
:diamond_shape_with_a_dot_inside: เนื้องอกเป็นพิษ (Toxic adenoma หรือ multinodular toxic goiter)
:diamond_shape_with_a_dot_inside:โรคเกรฟ (Graves) *เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุด
อาการและอาการแสดง
น้ำหนักไม่เพิ่มขึ้นทั้ง ๆ ที่รับประทานอาหารเท่าเดิมหรือเพิ่มขึ้น
มีอาการหิวบ่อยหรือกินจุ
PR >100 ครั้ง/นาที อาจพบ systolic murmur
ตาโปน (exophthalmos)
ต่อมไทรอยด์มีขนาดใหญ่ขึ้น ลักษณะเป็นคอพอก (goiter)
ขี้ร้อน หงุดหงิด ตกใจง่าย อารมณ์แปรปรวน
อาการสั่น มือสั่น (tremor)
การวินิจฉัยโรค
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
:syringe:เจาะเลือดตรวจ TSH จะต่ำ T3 uptake สูง T4 สูง ค่าปกติของ TSH = 0.35-5 mU/dl ,FT4 = 0.8-2.3 ng/dl, Total T3 = 80-220 ng/dl
การตรวจเลือด เช่น CBC (neutrophil)
การซักประวัติ
ผลกระทบต่อมารดา
ความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ หรือหัวใจล้มเหลว
รกลอกตัวก่อนกำหนด
แท้งและคลอดก่อนกำหนด
ผลกระทบต่อต่อทารก
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่กำเนิด
ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
แนวทางการรักษา
การให้ยา
Methimazole
Adrenergic blocking agent (Inderal)
Propylthiouracil (PTU) 100-150 mg/day
Radioiodine therapy
การผ่าตัด
ภาวะฉุกเฉิน : Thyroid storm
อาการและอาการแสดง
คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย
สับสน ชัก จนหมดสติ
หัวใจเต้นเร็ว ชีพจร 140 ครั้ง/นาที
ไข้ 38.5 องศาเซลเซียส หลังจากการคลอด
หรือการผ่าตัดคลอด 2-3 ชั่วโมง
การรักษาเฉพาะ
ยาต้านไทรอยด์ฮอร์โมน และ iodine
การรักษาแบบประคับประคอง
กิจกรรมการพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการปฏิบัติตัว
การพักผ่อน วันละ 10 ชั่วโมง
รับประทานยาให้ตรงตามขนาด และเวลาที่แพทย์สั่ง
รับประทานอาหาร 4000-5000 แคลอรี
รักษาความสะอาด
นับการดิ้นของทารก
อธิบายเกี่ยวกับโรค
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจเกี่ยวกับมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง
ระยะคลอด
ระยะที่ 1
สังเกตุอาการใจสั่น หายใจไม่สะดวก
ประเมินสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง
จัดท่า Fowler’s position
ดูแลให้ยาระงับปวด
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินสภาพของทารกในครรภ์
ระยะที่ 2
ให้ผู้คลอดเบ่งน้อยที่สุด
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 5 นาที
ตรวจชีพจร และการหายใจทุก 10 นาที
หลังคลอดฉีด Syntocinon
ห้ามใช้ยา methergin
หลังคลอด
:small_blue_diamond:ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
:small_blue_diamond:ให้พักผ่อนช่วยเหลือกิจกรรม
:small_blue_diamond:24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด :สังเกตุอาการหายใจไม่สะดวกกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง เหนื่อย อ่อนเพลีย ใจสั่น
:small_blue_diamond:ดูแลให้ได้รับยาลดการทำงานของต่อมไทรอยด์ เช่น PTU
:small_blue_diamond:แนะนำการปฏิบัติตัวหลังคลอด : การป้องกันการติดเชื้อ
:small_blue_diamond:ให้นมบุตรได้ ยกเว้นรายที่มีภาวะผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด
:small_blue_diamond:ประเมินสภาพทารก
:small_blue_diamond:การวางแผนครอบครัว
:three:
ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย (Hypothyroidism)
สาเหตุ
จากการรักษาผ่าตัด❖
หรือจากสารรังสีรักษา
จากการขาดไอโอดีน❖
มีการทำลายเนื้อต่อมไทรอยด์ ❖
การวินิจฉัย
ประวัติ
การรักษามาก่อน❖
การใช้ยาlithium❖
อาการ
➢เบื่ออาหาร
➢ผมร่วง เล็บเปราะ เสียงแหบ
➢ทนเย็นไม่ได้
➢นน.เพิ่ม
➢ผิวแห้งกร้าน
การตรวจ
❖ระดับ T3,FT4 ต่ำ
❖ระดับ TSH จะสูง
❖DTRช้า
แนวทางการรักษา
:diamond_shape_with_a_dot_inside: ติดตามการทางานของต่อมไทรอยด์ทุกไตรมาส
:diamond_shape_with_a_dot_inside: ปรับขนาดยาตามระดับ TSH , T4
:diamond_shape_with_a_dot_inside: Levothyroxine (T4 )ขนาด 100-200 g/วัน วัน ละครั้ง นาน 3 สัปดาห์ ซึ่งยาไม่ผ่านรก
ผลของภาวะต่อมไทรอยด์
ทำงานน้อยต่อการตั้งครรภ์
ต่อมารดา
คลอดก่อนกำหนด
ทารกตายในครรภ์สูงกว่าปกติ
มีโอกาสแท้งบุตร
ภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
การเสียเลือดหลังคลอด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ต่อทารก
ทารกมีความบกพร่องในการพัฒนาสมอง
Cretinism
:pencil2:จัดทำโดย
นางสาวชวนันท์ รูปคุ้ม เลขที่ 18