Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
การพยาบาล
ลดความ เครียดวิตกกังวลเมื่อ เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กและญาติ
จัดกิจจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด็กและญาติให้มีการระบายออก
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจของเด็กและญาติ
บรรเทาปวด
จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่
ประเมินระดับอาการปวด
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
ค้าแนะน้าเมื่อกลับอยู่บ้าน
ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
สังเกตอาการผิดปกติที่จาเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที
ได้แก่ เฝือกมีกลิ่นเหม็น,ปลายมือปลายเท้าชา เขียวคล้า,มีไข้สูง
ดูแลแผลผ่าตัด ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้าหรือสกปรก
ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดี
หมั่นออกกาลังกายกล้ามเนื้อและข้อ โดยเฉพาะการกาแบมือบ่อยๆ
โรคแทรกซ้อน
Volkmann’ s ischemic contracture
ทาให้แขน มือ และนิ้วหงิกงอ
ลักษณะรูปร่าง
ข้อศอกอาจจะงอ
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
แขนอยู่ในท่าคว่ามือ (pronation)
กล้ามเนื้อแขนลีบแข็ง
สาเหตุ
งอพับข้อศอกมากเกินไป ในขณะที่บริเวณนั้นยังบวมอยู่
บวมเต็มที่ เฝือกขยายออกไม่ได้ ทาให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวก
เลือดแข็งจับกันเป็นก้อน
ระยะ
เริ่มเป็น
นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ การบวมทาให้นิ้วแข็ง
สีนิ้วขาวซีด หรือสีคล้า แต่ยังอุ่นอยู่
บวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว เจ็บและปวด ชา
ชีพจร คลาไม่ได้ชัด หรือไม่ได้
อักเสบของกล้ามเนื้อ
บวม ตึง แข็ง และมีสีคล้า เนื่องจากมีเลือดปะปนอยู่ ผิวหนังพอง เนื่องจากกล้ามเนื้อมี fascia หุ้มอยู่ fascia ขยายตัวไม่ได้มาก จึงทาให้เกิดความอัดดันภายในมาก
กล้ามเนื้อหดตัว
กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน มือ และนิ้ว ทาให้มือและนิ้วหงิกงอ ใช้การไม่ได้
วิธีป้องกัน
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือก
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพัน ด้วยผ้าพันธรรมดา
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุดขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่ ๆ
แนะนาหลังเข้าเฝือก
ยกบริเวณที่หักให้สูงกว่าระดับหัวใจตลอดเวลา ควรนอนพัก ยกแขนให้สูงไว้ 2 - 3 วัน หรือจนยุบบวม
ถ้าบวมมากและเจ็บปวด แสดงว่าเฝือกรัด ทาให้เลือดเดินไม่สะดวก
ควรรีบปรึกษาแพทย์ทันที
ถ้าปวด บวม หรือชา รีบปรึกษาแพทย์ เพื่อตัดเฝือกออกทันที
โรคคอเอียงแต่กาเนิด (Congenital muscular Torticollis)
เอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่งจาก
กล้ามเนื้อด้านข้างคอ Sternocleidomastoidที่เกาะยึดระหว่างกระดูกหลังหู กับส่วนหน้าของกระดูกไหปลาร้าหดสั้นลง
เนื้อเยื่อบริเวณคอถูกกดขณะคลอด ทารกอยู่ในท่าที่ ไม่เหมาะสม
ในครรภ์
อาการ
พบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียงค่อย ๆ
ยุบลงไป
เป็นนานๆจะส่งผลให้กะโหลก
ศีรษะ ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศีรษะบิดเบี้ยว
ไม่สมดุล
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย ลักษณะของผู้ป่วย ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
ยืดโดยวิธีดัด (passive stretch) จัดท่าให้นอนหงายจัดให้หู
ข้างตรงข้ามกับกล้ามเนื้อหดสั้นสัมผัสกับไหล่ข้างเดียวกัน
ยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth) หันหน้ามาด้านที่คอเอียงที่มีกล้ามเนื้อหดสั้น เช่น ให้นม จัดท่าขณะนอนหลับ
การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis) ปรับตาแหน่งศีรษะ
การผ่าตัด
การยืดไม่ได้ผลหลังอายุ 1 ปี ควรผ่า อายุ 1 – 4 ปี โดย bipolar release ตัดปลายเอ็นยึดเกาะของกล้ามเนื้อด้านคอทั้งสองปลาย
ใช้อุปกรณ์พยุงคอ และต้องยืดกล้ามเนื้อเพื่อให้คอตรงและป้องกันการกลับเป็นซ้า
polydactyly
สาเหตุ พันธุกรรม
การรักษา ผ่าตัด
ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพใด ๆ
ภาวะแทรกซ้อน
polydactyly preaxial เป็น hallux varus ซึ่งอาจ
ก่อให้เกิดความเจ็บปวดและความยากง่ายกับการสวมใส่รองเท้า
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
พยาธิสรีรภาพ
การเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง การอัมพาตของกล้ามเนื้อท้าให้กระดูกเจริญเติบโตน้อย ไม่เท่ากันทั้งสองข้าง ท้าให้ข้อคดงอ ขายาวไม่เท่ากัน ท้าให้ตัวเอียงและหลังคด
ไม่ทราบสาเหตุ หลังจะคดมากขึ้นเรื่อยๆ กระดูกสันหลังแต่ละชิ้นจะเอียงตัวโค้งและมีการหมุนกระดูกซี่โครงด้านโค้งออก (Convex) จะโป่งนูนไปด้านหลัง
รุนแรง ทาให้ทรวงอกผิดปกติกระทบต่อการทางานของหัวใจและปอด สมรรถภาพการทางานอวัยวะทั้งสองลดลง ความคดของหลังจะเพิ่มขึ้น และเสียชีวิตเร็ว
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย : สังเกตความพิการ ส่วนสูง น้าหนักตัว แนวลาตัว
ตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่น ๆ : X-Ray
ซักประวัติ : การผ่าตัด ความพิการของกระดูกสันหลัง
อาการแสดง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจากัด มักหายใจตื้น หายใจลึกทาได้ยาก
เลื่อนอกจากแนวลาตัว ความจุในทรวงอกสองข้างไม่สมมาตรกัน
โค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออก
จะฝ่อลีบและบาง
การรักษา
เป้าหมาย
แก้ไขหรือลดความพิการ
ป้องกันและลดความปวด
ป้องกันไม่ให้โรคเป็นมากขึ้น
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
แบบอนุรักษ์นิยม (Conservation) กายภาพบาบัด , บริหารร่างกาย
การผ่าตัด รักษาสมดุลของลาตัว แก้ไขแนวตรงของร่างกาย รักษา
ระดับไหล่และสะโพก
การพยาบาล
แนะนำก่อนและหลังผ่าตัด
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคโดยใช้คู่มือ วีดิทัศน์ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและความคุ้นเคย
บอกผู้ป่วยต้องนอนในหออภิบาลหลังผ่าตัด เพราะต้องดูแลอย่างใกล้ชิดหลังผ่าตัดใหญ่
อธิบายวิธีการพลิกตัวหลังผ่าตัดโดยให้ไหล่และสะโพกพลิกไปพร้อมกัน (Logrolling) พร้อมสาธิตวิธีการเปลี่ยนท่านอน
แนะนาให้รายงานอาการผิดปกติต่างๆที่อาจเกิดหลังผ่าตัด เช่น อาการปวด ชา สูญเสียความรู้สึก
ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง โดย สังเกตและประเมินความปวด
ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ โดยประเมินผิวหนังทั่วไปและบริเวณผ่าตัด
แนะนาการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลาตัว โดยมีเสื้อรองก่อนเพื่อป้องกันการกดทับผิวหนัง