Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมดลูกแตก (Uterine rupture / Rupture of the uterus) - Coggle Diagram
ภาวะมดลูกแตก (Uterine rupture / Rupture of the uterus)
ความหมาย
ภาวะที่มีการฉีกขาดของผนังมดลูก ในขณะตั้งครรภ์หลังจากทารกโตพอที่จะมีชีวิตอยู่ได้ หรือหลังอายุครรภ์ 28 สัปดาห์และเกิดการฉีขาดระหว่างตั้งครรภ์ ระหว่างเจ็บครรภ์ หรือระหว่างการคลอด
ชนิดของมดลูกแตก
การแตกของแผลเป็นที่ตัวมดลูก
จากแผลเป็นของการผ่าท้องทำคลอดชนิด Classical แตกระหว่างตั้งครรภ์ในไตรมาส 3
ชนิด low transverse จะแตกในระหว่างการเจ็บครรภ์ รุนแรง อาจมีการฉีกขาดกกระเพาะปัสสาวะ
การแตกของมดลูกที่เป็นปกติ เนื่องจากได้รับกการกระทบกระเทือน
เกิดจากอุบัติเหตุ บาดเจ็บช่องท้อง ได้รับกระทบกระเทือน
อาจพบจากการทำสูติศาสตร์หัตถการต่างๆ
การแตกเองของมดลูก
มารดาตั้งครรภ์หลัง อายุมาได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ท่าและส่วนนำผิดปกติ เด็กหัวบาตร ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ
รุนแรง ทารกหลุดไปในช่องท้อง แม่เสียเลือดมา เด็กขาดออกซิเจน
สาเหตุ
เคยผ่านกการตั้งครรภ์ และการคลอดบุตรจำนวนมากก
การใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การบาดเจ็บบริเวณช่องท้องอย่างรุนแรง
รกฝังตัวลึกชนิด Placenta percreta หรือ Placenta increta
การคลอดติดขัดจากการผิดสัดส่วนระหว่างศรีษะทารกกับช่องเชิงกราน
การทำสูติศาสตร์หัตถการอย่างยาก
รอยแผลผ่าตัดเดิม จากแผลผ่าท้องคลอด หรือแผลผ่าตัดอื่นๆ
อาการและอาการแสดง
อาการและอากการแสดงเตือนว่ามดลูกจะแตก (threatenedd uterine rupture)
พบ Bandl's ring หรือ pathological retraction ring จากการตรวจหน้าท้องเห็นมดลูกเป็นสองลอน
กดเจ็บบริเวณเหนือหัวเหน่า โดยเฉพาะบริเวณส่วนล่างของมดลูก
จากการตรวจภายในช่องคลอด พบปากมดลูกลอยสูงขึ้น
กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว หายใจไม่สม่ำเสมอ
อัตรากการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ไม่สม่ำเสมอ
ปวดท้องน้อยบริเวณเหนือหัวเหน่าอย่างรุนแรง
อาจมีเลือดออกทางช่องคลอด
มดลูกกหดรัดตัวตลอดเวลา
อาการและอาการแสดงของมดลูกแตก (Uterine rupture)
มีอาการช็อกกหรือไม่ ขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพของมดลูกแตก
คลำส่วนของทารกได้ชัดเจนมากขึ้น
บางรายพบมีเลือดออกทางช่องคลอดมากผิดปกติ
เสียงหัวใจทารกจะเปลี่ยนแปลง หรือหายไปขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพของมดลูกที่แตก
อาการปวดท้องน้อยจะทุเลาลงภายหลังจากที่มารดาบางรายบอกกว่ารู้สึกเหมือนกับมีการแยกออกของอวัยวะในช่องท้อง
การตรวจภายในพบว่าส่วนนำถอยกลับ หรือส่วนนำลอยสูงขึ้น หรือตรวจไม่ได้ส่วนนำและอาจคลำพบรอยแตกของมดลูก
อาจคลำได้ก้่อนหยุ่น ๆ ข้างมดลูก ถ้ามีเลือดเข้าไปขังอยู่ใน broad ligament
สวนปัสสาวะอาจได้เลือดปนในปัสสาวะ ถ้ามีการฉีกขาดของกระเพาะปัสสาวะ
ปวดท้องอย่างรุนแรง รู้สึกอึดอัดเนื่องจากเลือด น้ำคร่ำและตัวทารก ก่อความระคายเคืองต่อเยื่อบุช่องท้อง
ผลกระทบ
ต่อมารดา
อัตรากการเสียชีวิต
เสียเลือด ก่อน-หลังคลอด
เกิดการติดเชื้อ
ต่อทารก
ทารกขาดออกซิเจน
การพยาบาล
เพื่อการป้องกันภาวะมดลูกแตก
มารดาที่เคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ควรแนะนำให้คุมกำเนิด และเว้นระยะในการตั้งครรภ์อย่างน้อย 2 ปี
ในระยะคลอดต้องเฝ้าดูแลมารดาอย่างใกล้ชิด
ตรวจหดรัดตัวของมดลู ถ้าพบว่าผิดปกติ คือ interval < 2 นาที , duration> 90 วินาที resting period < 1 นาที , 30 วินาที และ intensity +4
สังเกตลักษณะมดลูก ถ้าพบว่ามีลักษณะ Banddl's ring ให้รายงานแพทย์
มารดาที่มีประวัติกการคลอดยาก ผ่าตัดมดลูก และเคยได้รับารทำสูติศาสตร์หัตถารควรแนะนำให้ฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ
ในกรณีที่มีการตั้งครรภ์ผิดปกติ หรือมีภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ ควรรายงานแพทย์เพื่อพิจารณาผ่าท้องทำคลอด
เมื่อมีภาวะมดลูกแตกแล้ว
เตรียมมารดาเพื่อทำผ่าตัดในรายที่มีภาวะเสี่ยงต่อมดลูกแตก หรือในรายที่มดลูกแตก
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ
ให้การดูแลจิตใจมารดาและครอบครัว ในกรณีที่สูญเสียบุตร
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ทารกมีโอกาสเกิดภาวะขาดออกซิเจน เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวถี่และรุนแรง
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อค เนื่องจากเสียเลือดมากจากภาวะมดลูกแตก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะมดลูกแตก เนื่องจากเคยผ่าตัดคลอดทางน้าท้อง
มีโอกาสเกิดการติดเชื้อ เนื่องจากมดลูกปริหรือแตก
มารดาและครอบครัวมีความวิตกกังวลหรือกลัว เนื่องจากมีภาวะมดลูกปริหรือแตก
ลักษณะของมดลูกแตก
มดลูกแตกไม่สมบูรณ์ (Incomplete rupture)
มดลูกปริ (Dehiscence)
มดลูกแตกสมบูรณ์ (Complete rupture)