Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดเฉียบพลับ (Precipitate labor) - Coggle Diagram
การคลอดเฉียบพลับ
(Precipitate labor)
การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ ใช้เวลาทั้งหมด ประมาณ 3 ชั่วโมง หรือใช้เวลาทั้งหมดในการคลอดประมาณ 2-4 ชั่วโมง และมีการเปิดขยายของปากมดลูก ในระยะปากมดลูกขยายเร็ว 5 เซนติเมตร/ชั่วโมง
ผู้คลอดครรภ์แรก ปากมดลูกเปิด1 เซนติเมตร ทุก 12 นาที
ผู้คลอดครรภ์หลัง ปากมดลูกเปิด1 เซนติเมตร ทุก 6 นาที
ปัจจัยส่งเสริม
แรงต้านทานของเนื้อเยื่อที่ช่องคลอดไม่ด
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกต
เกิดขึ้นเองหรือ
จากการให้ยาเร่งคลอดมากผิดปกต
ในผู้คลอดครรภ์หลังเนื้อเยื่อต่างๆมีการยืดขยายมาก จึงทำให้
คอมดลูก พื้นเชิงกราน ช่องคลอดและฝีเย็บหย่อนตัว
ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกว้าง
มีประวัติการคลอดเฉียบพลัน
ทารกตัวเล็ก
อายุครรภ์น้อยกว่ากำหนด
ผู้คลอดที่ไวต่อการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
อาการและอาการแสดง
เจ็บครรภ์เป็นอย่างมาก
มดลูกมีการหดรัดตัวอย่างถี่และรุนแรง
มากกว่า 5 ครั้งในเวลา 10 นาที
ตรวจภายในพบปากมดลูกมีการเปิดขยายเร็ว
ครรภ์แรกปากมดลูกเปิด 5 เซนติเมตร/ชั่วโมง
ครรภ์หลังปากมดลูกเปิด 10 เซนติเมตร หรือมากกว่า
การวินิจฉัย
ระยะเวลาในการเจ็บครรภ์และคลอดน้อยกว่า 3 ชั่วโมง
การเปิดขยายของปากมดลูก
มากกว่า 5 เซนติเมตร/ชั่วโมง ในครรภ์แรก
มากกว่า 10 เซนติเมตร/ชั่วโมง ในครรภ์หลัง
มีการหดรัดตัวของมดลูกถี่และรุนแรง
หดรัดตัวทุก 2 นาทีหรือบ่อยกว่านั้น
ระยะเวลาของการหดรัดตัวของมดลูกนานมากกว่า 90 วินาที
หรือไม่มีการคลายตัวในระยะที่ควรเป็นระยะพัก
ความดันภายในโพรงมดลูกประมาณ 50-70 มิลลิเมตรปรอท
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
เนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอดเกิดการฉีกขาด
ปากมดลูก ช่องคลอด ฝีเย็บ ลักษณะของ
แผลเป็นแบบกะรุ่งกะริ่ง
มีการติดเชื้อที่แผลฉีกขาด
ตกเลือดหลังคลอด
จากการที่มีแผลฉีกขาด
อาจเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตัน
มดลูกแตกจากมดลูกหดรัดตัวรุนแรง
เกิดการคั่งของเลือดใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
อาจเกิดมดลูกปลิ้นเนื่องจากความดันในโพรงมดลูกลดลงอย่างรวดเร็ว
ต่อทารก
เลือดออกในสมอง (subdural hemorrhage)
Erb’palsy
อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน (asphyxia)
จากรกลอกตัวก่อนก าหนด หรือจากการที่มดลูก
หดรัดตัวของมดลูกอย่างรุนแรงและรวดเร็วท าให้เส้นเลือดหดรัดตัว เลือดไหลผ่านไปยังรกได้น้อย
ได้รับบาดเจ็บเนื่องจากการกระทบกระแทกเพราะการช่วยคลอดไม่ทัน
สายสะดือขาดขาดเนื่องจากสายสะดือสั้นหรือรกยังไม่ลอกตัว
ทารกอาจสำลักน้ำคร่ำถ้าคลอดออกมาทั้งถุงน้ำคร่ำ
ทารกอาจเกิดการติดเชื้อเนื่องจากไม่ได้เตรียมท าความสะอาดก่อนคลอด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
การรักษา
ให้การดูแลตามอาการ
ถ้าเกิดการคลอดเฉียบพลันให้ช่วยคลอด
การให้ยา
ควรหยุดให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก และดูแลอย่างใกล้ชิด
อาจให้ยาช่วยยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อปูองกันการติดเชื้อ
ให้ยา methergin หลังคลอดเพื่อปูองกันการตกเลือด
การผ่าตัดคลอด
ทำในรายที่มีภาวะแทรกซ้อนจากภาวะมดลูกแตก (uterine rupture) หรือ
น้ำคร่ำอุดตันในกระแสเลือดของผู้คลอด (amniotic fluid embolism)
การพยาบาล
มารดาที่มีประวัติการคลอดเร็ว
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก
ฟังเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ ทุก 30นาที
ประเมินการเปิดขยาย และความบางของปากมดลูกเมื่อมารดาอยากเบ่ง
พิจารณาย้ายมารดาเข้าห้องคลอด
กรณีมารดาที่มีประวัติการคลอดเร็วควรย้ายเข้าห้อง
คลอดเมื่อปากมดลูกเปิด 5 เซนติเมตร เพื่อเตรียมการช่วยคลอดโดยเร็ว
ให้การดูแลตามอาการ กรณีที่จะมีภาวะคลอดเฉียบพลัน
กระตุ้นให้ใช้เทคนิคการหายใจแบบตื้นๆ เร็วๆ เบา ๆ เข้าออกทางปากและจมูก
เพื่อควบคุมไม่ให้มารดาเบ่งเร็ว
ใช้ผ้าสะอาดกดบริเวณฝีเย็บ พร้อมทั้งใช้มืออีกข้างกดศีรษะทารกให้ก้มลงก่อนที่ศีรษะทารกจะคลอด เพื่อปูองกันการฉีกขาดของฝีเย็บและอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
มารดาไม่สามารถหยุดเบ่ง และศีรษะทารกคลอดออกมาแล้ว ให้กางขา
มารดาออก เพื่อปูองกันศีรษะทารกถูกหนีบ
จับให้ทารกนอนศีรษะต่ำ ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง และดูดน้ำคร่ำในปากและจมูกทารกออก เพื่อปูองกันทารกส าลักน้ าคร่ า
ระยะหลังคลอด
ดูแลอย่างใกล้ชิด ในกรณีที่มีการฉีกขาดของช่องทางคลอด และมดลูกหด
รัดตัวไม่ดี เพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
ประวัติการคลอดเฉียบพลัน หรือการคลอดเร็วในครรภ์ก่อน
ความไวต่อการเร่งคลอด
ลักษณะอาการเจ็บครรภ์
อาการอื่นๆ ร่วมกับการเจ็บครรภ์
การตรวจร่างกาย
การตรวจภายใน
เพื่อประเมินอัตราการเกิดขยายของปากมดลูก
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ ร่วมกับการ monitor EF
เพื่อประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์
ภาวะจิตสังคม
ประเมินความวิตกกังวล และความหวาดกลัวของผู้คลอด