Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กทีมีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อ และกระดูก(โรค), นางสาวภควดี…
การพยาบาลเด็กทีมีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อ
และกระดูก(โรค)
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสําคัญ
มีก้อนที่หลังหรือที่หน้าผาก
ขาอ่อนแรงทั้งสองข้าง
ปัสสาวะ อุจจาระตลอดเวลา
มีไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
มีประวัติไม่ได้รับวัคซีน
ไม่ได้คลอดที่โรงพยาบาล
ความดันในช่องสมองผิดปกติ
ภาวะน้ำคั่งในกะโหลกศีรษะสูง(Hydrocephalus)
อาการสำคัญ
ศีรษะโตแต่กําเนิด
กระหม่อมหน้าโป่ง
ศีรษะโตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับทรวงอก
ปวดศีรษะ ซึม
ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
อาการเเสดง
หัวบาตร หัวโตกว่าปกติ
รอยต่อกระโหลกเเยกออกจากกัน
Congenital Hydrocephalus
ผิดปกติในการสร้างน้ำไขสันหลัง
Communicate Hydrocephalus
ผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
Obstructive Hydrocephalus
ผิดปกติในการอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
การรักษา
รักษาด้วยการผ่าตัด
ใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
ใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
รักษา IICP
จัดท่านอนนอนราบศีรษะสูง 15 – 30 องศา
กรณีผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
อย่างรวดเร็ว ซึม ไม่รู้สึกตัว แพทย์จะรักษาโดยการใส่ท่อหลอดลมคอและช่วยหายใจ เพื่อลดความดัน
การให้ยาขับปัสสาวะ
รักษาด้วยยา
ใช้ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide
ช่วยลดการสร้างน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
ความบกพร่องของสติปัญญา
สมองพิการ Cerebral palsy
อาการสำคัญ
มีประวัติสมองขาดออกซิเจน
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น
หายใจไม่มีประสิทธิภาพ
เลี้ยงไม่โต พัฒนาการล่าช้า
ข้อติดแข็ง
การดูดกลืนบกพร่อง
ชนิดของสมองพิการ
Splastic
กล้ามเนื้อหดเกร็ง
Extrapyramidol cerebral palsy
การเคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น
Ataxia cerebral palsy
มีเดินเซ ล้มง่าย
Mixed type
การประเมินสภาพ
มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด
เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น
เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว การทรงตัว
ชนิดของสมองพิการ
Spina Bifida
ความบกพร่องของกระดูกสันหลัง
พบบ่อยที่สุดที ่Lumbosacrum
มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกสันหลัง
ความผิดปกติ
Spina bifida occulta
ผิดปกติของกระดูกสันหลังส่วน Vetebral arches
ไม่รวมตัวกัน เกิดเป็นช่องโหว่
Spina bifida cystica
ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง
ทําให้มีการยื่นของไขสันหลัง
Meningocele
น้ำไขสันหลังไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง
ไขสันหลังอยู่ตําแหน่งปกติ ไม่เกิดอัมพาต
Myelomeningocele
กระดูกสันหลังผิดปกติ มีก้อนยื่นออกมา
พบบ่อยอันตรายและเกิดความพิการ
การรักษา
การตรวจพิเศษ alpha fetoprotein ขณะตั้งครรภ์ผิดปกติ
spida bifida occulta ไม่จําเป็นต้องรักษา
Spina bifida Cystica ต้องผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด
เพื่อลดการติดเชื้อ
ชักจากไข้สูง Febrile convulsion
สาเหตุ
การติดเชื้อในระบบต่างๆที่ไม่ใช่ระบบประสาท
อาการ
ชักเมื่ออุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส
มักเกิดขึ้นภายใน 24 ชม
ชนิดการชัก
Simple fibrile seizure
ชักแบบทั้งตัว (generalized seizure) ไม่เกิน 15 นาที
มีไข้ร่วมกับชัก
ไม่ชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
ไม่มีความผิดปกติเกี่ยวกับประสาท
Complex febrile seizure
หลังชักมีความผิดปกติเกี่ยวกับประสาท
ชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
ชักเฉพาะที่หรือทั้งตัว (Local or generalized seizure)
นานมากกว่า 15 นาที
ปัจจัยเสี่ยง
ประวัติการชักในครอบครัว
ไข้ร่วมกับการติดเชื้อ
อายุ : ครั้งแรกอายุก่อน 1 ปี
ความผิดปกติของระบบประสาทก่อนชัก
โรคกาฬหลังเเอ่น Meningococcal Meningitis
การเก็บสิ่งส่งตรวจ
ตรวจหาค่า MIC
วิธี seminested-PCR
วิธีทางชีวเคมี และวิธี PCR
อาการ
Meningitis
ไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง
ซึมและสับสน อาการจะแย่ลงอย่างรวด
Meningococcemia
Acute Meningococcemia
ผื่นหลังไข้ขึ้น 24-48 ชั่วโมง
เจ็บคอและไอ ไข้สูง หนาวสั่น
ปวดข้อและตามกล้ามเนื้อ
Chronic Meningococcemia
ไข้จะเป็นๆ หายๆ
ปวดและเจ็บข้ออยู่เป็นเดือน
อาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็งอาจมีผื่นแดง จ้ำเลือด(pink macules)
ระยะติดต่อ
droplet
มีระยะฟักตัวประมาณ 2-10 วัน (เฉลี่ย 3-4 วัน)
ทําให้เกิดโรคได้ 3 แบบ
แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
แบบเชื้อแพร่เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ
แบบไม่มีอาการหรืออาการน้อย
สาเหตุ
เกิดจากเชื้้อแบคทีเรีย
Neisseria meningitides
เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ
การรักษา
ยาปฏิชีวนะ เช่น ceftriaxone/PGS/Chloramphenicol
การรักษาแบบประคับประคองและอาการต่างๆ
Glucocorticoid therapy ก่อนให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
การป้องกัน
ต้องได้รับยา Rifampicin หรือ Ceftriaxone หรือ ciprofloxacin
การฉีดวัคซีน
ผู้ที่เดินทางไปในที่ที่มีการระบาดของโรค
ลมชัก Epilepsy
ชนิดเเละกลุ่มอาการ
อาการชักทั้งตัว
อาการชักเฉพาะที่จะตามด้วยอาการชักทั้งตัว
อาการเกร็งกระตุก
กล้ามเนื้อกระตุกเป็นจังหวะประม าณ 1 – 2 นาที
อาการชักเฉพาะที่
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ : รู้ตัวตลอดเวลา
ชักเฉพาะที่แบบขาดสติ : สูญเสียการรับรู้สติเมื่อสิ้นสุด
การชักจะจําเหตุการณ์ช่วงชักไม่ได้
อาการชักเกร็ง
กล้ามเนื้อมีความตึงตัวมากขึ้นเกิดนานประมาณ 2 – 10 วินาที
อาการชักกระตุก
กล้ามเนื้อเคลือนไหวผิดปกติ มีการขยับเขยื้อนจังหวะซ้ำ
อาการชักตัวอ่อน
มีการเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้ออย่างทันที 1-2 วินาที
อาการชักสะดุ้ง
หดตัวของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรงและรวดเร็วมาก อาการคล้ายสะดุ้งตกใจ
อาการ
Preictal peroid
ระยะก่อนอาการชัก
อาการนํา : ชักอาจจะเกินนานหลายนาที
อาการเตือน : ต่างกันตามตําแหน่งของสมอง
peri-ictal peroid
ระยะที่เกิดอาการชัก
เกิดขึ้นทันทีทันใด ไม่เกิน 5 นาทีและหยุดเอง
ส่วนใหญ่มีลักษณะเหมือนกันทุกครั้ง
Postical peroid
การชักสิ้นสุดลง
เคลื่อนไหวร่างกายไปอัตโนมัติขณะชัก เช่น เคี้ยวปาก กระพริบตาถี่ๆ ตีมือคว่ำหงายสลับกัน
กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่
Interictal peroid
ช่วงเวลาระหว่างการชัก ตั้งแต่ระยะเวลาหลังการชักหนึ่งสิ้นสุดลงไปเเล้วเริ่มเกิดชักใหม่
ช่วงเวลาระหว่างการชัก
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง,ภยันตรายระหว่างการคลอดหรือหลังคลอด
ไม่ทราบสาเหตุ
จากความผิดปกติของ Neurotransmission จากความผิดปกติของยีน
จัดอยู่ในกลุ่ม Symtomatic epilepsy
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ Meningitis
อาการ
มีอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง
ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ คอแข็ง
Kernig sign และ Brudzinski sign ให้ผลบวก
ในรายที่เกิดจากเชื้อเมนิงโกคอคคัส
ตรวจพบผื่นแดงที่ผิวหนังจุดเลือดออก
การตรวจน้ำไขสันหลัง
ความดันระหว่าง (5 – 15 มม.ปรอท)
ไม่มีเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว
โปรตีน 15 – 45 mg / 100 ml.
ปกติของน้ำไขสันหลังมีสีใส ไม่ขุ่น
กลูโคส 50 – 75 mg / 100 ml.
คลอไรด์ 700 – 750 mg / 100 ml.
สาเหตุ
การอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมองชั้นในสุดและArachnoidที่อยู่รอบๆสมองและไขสันหลัง
เยือหุ้มสมอง ถูกทําลาย
ชนิดการเกิด
เกิดจากไวรัส
วัณโรค
เกิดจากแบคทีเรีย
Haemophilus influenzae
streptococcus peumoniae
Neisseria meningitidis
นางสาวภควดี ฉัตรน้อย ปี2 ห้องB เลขที่60 613601168