Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะรกค้าง (Retained placenta) - Coggle Diagram
ภาวะรกค้าง (Retained placenta)
ความหมาย
ภาวะที่รกไม่คลอดภายใน 30 นาที
อุบัติการณ์
ชนิด พลาเซนต้าเอคครีต้า พบได้ประมาณร้อยละ 80
ชนิด พลาเซนต้าอินครีต้า พบได้ประมาณร้อยละ 15
ชนิด พลาเซนต้า เพอครีต้า พบได้ประมาณร้อยละ 5
สาเหตุ
การขาดกลไกการลอกตัว
รกปกติ แต่มดลูกไม่มีการหดรัดตัว รกจึงไม่ลอกตัวหรือลอกตัวไม่สมบูรณ์
มีระยะการคลอดที่ยาวนาน (prolonged labor)
มีปัสสาวะในกระเพาะปัสสาวะ (Full bladder)
มารดาอ่อนเพลีย ขาดอาหารและน้ำ (maternal exhaution and dehyddration)
มารดาได้รับยาระงับปวดหรือยาสลบมากเกินไป (over analgesia and general anesthesia)
รกเกาะที่บริเวณคอร์นู (cornu) หรือมดลูกส่วนล่าง
รกผิดปกติ ถึงแม้มดลูกจะมีการหดรัดตัวได้ดีตามปกติ แต่รกไม่สามารถลอกออกมาได้
Placenta adherens (รกติด)
placenta membranacea (รกบาง)
placenta succenturiata หรือ placenta spurium (รกน้อย)
การขาดกลไกการขับดัน
รกลอกตัวแล้วแต่ไม่อาจผ่านออกมาจากโพรงมดลูกส่วนบนได้ เกิดขึ้นเนื่องจากการหดรัดตัวที่ผิดปกติของมดลูก
รกลอกกตัวแล้ว และผ่านโพรงมดลูกกออกมาอยู่ในช่องคลอด เนื่องจากมารดาไม่เบ่งผลักรกที่ลอกตัวแล้ว ให้คลอดออกกมาเองตามธรรมชาติของการคลอดรก
สาเหตุส่งเสริม
เคยมีประวัติรกค้าง
เคยทำหัตถการที่ส่งเสริมให้เกกิดรกค้าง
การทำคลอดรกก่อนรกลอกตัวสมบูรณ์
มดลูกมีลักษณะผิดปติ
ชนิดของรกติด
placenta accreta ชนิดที่ trophoblast ฝังตัวลงไปตลอดชั้นสปอนจิโอซา ของเยื่อบุมดลูกอาจทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน แต่ไม่ผ่านลงไปชั้นกล้ามเนื้อมดลูก
placenta percreta ชนิดที่ trophoblast ฝังลึกทะลุชั้นกล้ามเนื้อมดลูกจนถึง serosa
placenta increta ชนิด trophoblast ฝังตัวลึกผ่านลงไปถึงชั้นกล้ามเนื้อมดลูก แต่ไม่ถึงชั้นซีโรซา
อาการและอาการแสดง
ไม่มีอาการแสดงของรกลอกตัวหรือมีเพียงเล็กน้อยลังทารกกคลอดนาน 15-30 นาที
ตรวจรกพบว่ามีบางส่วนของเนื้อรก หรือ membranes ขาดหายไป
มีเลือดออกทางช่องคลอดเป็นจำนวนมาก ภายหลังรกกคลอด
มารดามีอาการกระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ตัวเย็นซีด เหงื่อออก ความดันโลหิตลดต่ำลง ระดับความรู้สึกตัวลดลง ซึ่งเป็นอาการของภาวะช็อค
พบว่ามดลูกหดรัดไม่ดีหลังคลอด
ผลกระทบ
ต่อทารก
การเสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกล่าช้า
มารกได้รับความอบอุ่นจากมารดาล่าช้า
ต่อมารดา
ตกเลือดหลังคลอด
เกิดกการติดเชื้อหลังคลอดได้
มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการถูกตัดมดลูกทิ้ง
การรักษา
ล้วงรก หากให้ยาแล้วรกยังคลอดไม่ได้
ขูดมดลูก กรณีรกค้างน้อย
ให้ยาเพื่อให้เกิดการคลายตัวของปากมดลูก
ให้ยา 20% magnesium sulphate 20 cc.ฉีดเข้าเส้นโลหิตช้าๆ
ยา adrenalin 1:1,000 จำนวน 0.3-0.5 cc ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
ตัดมดลูก กรณีที่แม่มีบุตรเพียงพอแล้ว
ให้ยาช่วยกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกก
การพยาบาล
ช่วยเหลือการคลอดรกที่ลอกแล้วแต่ค้างอยู่ในช่องคลอด
ดูอาการแสดงของรกที่ลอกตัวสมบูรณ์ถ้ามี sign แสดงว่ารกกลอกตัวแล้วแต่อาจขาดแรงเบ่ง
ช่วยเหลือการคลอดรกที่ยังค้างอยู่ในโพรงมดลูก
ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
ถ้าตรวจการหดรัดตัวของมดลูกแล้ว รกยังไม่คบอดออมาในเวลาอันสมควร
เกิดจากรกลอกตัวแล้ว แต่ไม่อาจผ่านโพรงมดลูกออกมาได้
เกิดจากรกลอกตัวเองไม่ได้ตามธรรมชาติ
ผู้ทำคลอดอาจสอดนิ้วมือเข้าไปในช่องคลอด เพื่อตรวจดูสภาพของปากมดลูกว่ามีการหดเกร็งของปากมดลูจนขัดขวางการเคลื่อนต่ำของรก
ลองทำคลอดรกโดยวิธีดึงสายสะดือ
ซักประวัติเกี่ยวกับสาเหตุส่งเสริมที่ทำให้เกิดภาวะรกค้าง
รายงานแพทย์ เพื่อพิจารณาช่วยคลอดรกโดยการล้วงรก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการตกเลือดเนื่องจากภาวะรกกติดแน่น
มารดาและครอบครัวมีความวิตกังวล/กลัว เนื่องจากกกมีภาวะรกค้าง
เสี่ยงต่อารเกิดภาวะรกค้าง เนื่องจากมีประวัติรกค้าง หรืือมีประวัติบูดมดลูก