Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูก - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูก
กระดูกและข้ออักเสบ
การวินิจฉัยต้องมีอาการ5ใน6
มีอาการปวดข้อ
ปวดข้อมากเมื่อขยับ
อุณหภูมิร่างกาย>38c
ข้อบวม
มีอาการทางsystemic
ตอบสนองดีต่อยาปฏิชีวนะ
มีการติดเชื้อที่กระดูกและข้อ ถ้าไม่ได้รับการรักษาอาจพิการได้
ostemyelitis
สาเหตุ
ติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา
การวินิจฉัย
ประวัติ
มีอาการปวด มีไข้ อ่อนเพลี
ตรวจร่างกาย
มีปวด บวม แดง เฉพาะที่
LAB
CBC พบ ESR CRP ูสูง
x-ray
พบในเด็กที่อายุน้อยกว่า13ปี พบมีการติดเชื้อกระดูกท่อนยาวมากที่สุด
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวะนะ
ผ่าตัด เอาเนื้อชิ้นเนื้ออก
cerebral palsy
ประเภท
แบ่งเป็น4
Spastic CP
จะมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งแน่น
ไม่สามารถหดตัวได้เหมือนกล้ามเนื้อปกติ มีลักษณะแข็งทื่อ
Ataxic CP
กล้ามเนื้อจะยืดหดอย่างไม่เป็นระบบระเบียบ ทำให้ไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อได้
หากเด็กมีความเก็บกดทางอารมณ์ หรือเมื่อเวลาตื่นเต้น กล้ามเนื้อจะยิ่งผิดปกติมากขึ้น
Athetoid CP
มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน
ทำให้เด็กควบคุมสมดุลย์ไม่ได้ ทำให้โซเซและหกล้มได้ง่าย
ประมาณ 1 ใน 4 ของเด็กที่เป็นซีพี จะมีอาการเป็น Atheloid CP
Mixed CP
เป็นการผสมผสานลักษณะทั้งสามคือ
เด็กคนเดียวอาจมีลักษณะที่กล่าวมาแล้ว
โดยประมาณกันว่า 1 ใน ของคนที่เป็น ซีพี จะมีลักษณะของการผสมผสานประเภทนี้
สาเหตุ
ระหว่างคลอด
ปัญหาการคลอด คลอดยาก ขาดออกซิเจน
ก่อนคลอด
การติดเชื้อ มารดามีโรคแทรกซ้อน อุบัติเหตุ
การักษา
ป้องกันความผิดรูปของข้อ ต่างๆ โดยใช้ วิธีทางกายภาพบำบัด(Physical Therapy) จะช่วยให้เด็กซีพี เรียนรู้การเคลื่อนไหวและการปรับสมดุลย์ของร่างกายได้ดีขึ้น
ลดความเกร็ง โดยใช้ยา
ยากิน กลุ่ม diazepam
ยาฉีด เฉพาะที่ ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน คือกลุ่ม Botox
การผ่าตัด
การผ่าตัดลดความตึงของกล้ามเนื้อโดยผ่าคลายเฉพาะกล้ามเนื้อที่ยึดตึง
การย้ายเอ็น เพื่อสร้างความสมดุลของข้อ
การผ่าตัดกระดูก ในรายที่กระดูกถูกดึงจนผิดรูปแล้ว
การให้การดูแลรวมถึงให้กำลังใจ โดยพ่อแม่ผู้ปกครองมีส่วนสำคัญ กับการพัฒนาการด้านอารมณ์ของเด็ก
การรักษาด้านอื่นๆ เช่น การผ่าตัดแก้ไขตาเหล่ น้ำลายยืด การใช้เครื่องช่วยฟัง ใช้ยาควบคุมการชัก รวมถึงปัญหาด้าน จิตเวช
ความพิการทางสมองทำให้เด็กเคลื่อนไหวผิดปกติ
เท้าปุก
การวินิฉัย
ใช้เพียงตาดูก็รู้แล้ว การถ่ายภาพ x-ray จึงไม่จำเป็น การตรวจร่างกายโดยละเอียดทำเพื่อดูว่ามีโรคอื่นๆ
ร่วมด้วยหรือไม่
การรักษา
การดัดและใส่เฝือก
การผ่าตัด
ผ่าตัดกระดูก
ผ่าตัดเชื่อมกระดูก
ผ่าตัดเนื้อเยื่อ
รูปร่างลักษณะข้อเท้าจิกลง(equinus) ส้นเท้าบิดไปข้างใน (varus) ส่วนกลางของเท้าด้าหน้าบิดงุ้มเข้าใน(adduction)
เท้าแบน
อาการ
มีตาปลาหรือผิวหนังหนากว่าปกติ
ปวดน่อง เข่า สะโพก
ปวดฝ่าเท้า
ไม่มีโค้งใต้ฝ่าเท้า
รองเท้าจะสึกเร็ว
สาเหตุ
เดินผิดปกติ
โรคเกี่ยวกับสมองและไขสันหลัง
เอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
พันธุกรรม
การรักษา
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่รองเท้ากว้างขนาดพอดี
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
พบแพทย์ที่เชี่ยวชาญ
กระดูกอ่อน
คือ
โรคของเมตาบอลิซึมของกระดูกที่พบในเด็ก ความบกพร่องในการจับเกาะของเกลือแร่บนเนื้อกระดูก
สาเหตุ
ความผิดปกติในการเผาผลาญแคลเซียม
โรคไตชนิดไม่ดูดกลับแคลเซียม
ความผิดปกติของการเผาผลาญวิตามินดี
ภาวะฟอตเฟตต่ำ
อาการ
เด็กเล็ก
ความตึงกล้ามเนื้อน้อย กล่้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง
เด็ก1ขวบปีแรก
กะโหลกศีรษะใหญ่นิ่ หน้าผากนูน ฟันขึ้นช้า ผมร่วง
เด็กหลัง1ขวบ
ขาโก่ง ขาฉิ่ง กระดูกสันหลังคอดงอ
การรักษา
รักษาที่สาเหตุ
ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างกระดูก
หลี่กเลี่ยงการขัดขว้างการดูดซึมแคลเซียม
ให้วิตามินดี200มกต่อน้ำหนักตัว
เน้นกินโปรตีนและแคลเซียม
ให้ร่างกายได้รับแสงแดเช้าเย็น
รักษาแบบประคับประคอง