Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะรกค้าง, นางสาวฐานิกา มะโหละกุล รหัส 601001041 - Coggle Diagram
ภาวะรกค้าง
อาการและอาการแสดง
-
-
-
-
มารดามีอาการกระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ตัวเย็นซีด เหงื่อออก ความดันโลหิตลดต่ำลง ระดับความรู้สึกตัวลดลง ซึ่งเป็นอาการของภาวะช็อค
การรักษา
-
ถ้าให้ยาแล้วรกยังไม่ลอกตัวอย่างสมบูรณ์ และรกไม่สามารถคลอดออกมาได้ แสดงว่ารกฝังตัวลึกต้องช่วยเหลือโดยการล้วงรก
ให้ยาช่วยกระตุ้นการหดรัดตัวของดลูก ซึ่งจะช่วยให้กล้ามเนื้อมดลูกมีการหดรัดตัวและคลายตัวเป็นระยะได้ดีขึ้น
-
สาเหตุ
ขาดกลไกการลอกตัว
รกปกติ
-
-
-
-
รกเกาะบริเวณคอร์นู (cornu) หรือที่มดลูกส่วนล่าง กล้ามเนื้อบริเวณดังกล่าวมีกำลังการหดรัดตัวไม่ดีเท่าส่วนคอร์ปัส (corpus) และส่วนยอดมดลูก (fundus)
รกผิดปกติ
แม้มดลูกจะมีการหดรัดตัวได้ดีตามปกติ แต่รกไม่สามารถลอกออกมาได้เนื่องจากภาวะรกติด (placenta adherens) พบในรกที่มีลักษณะแบบพลาเซนต้า เมมเบรนาเซีย (placenta membranacea) รกที่มีลักษณะเป็นรกน้อยชนิดพลาเซนต้า ซัคเซนทูเรียต้า (placenta succenturiata) หรือชนิดพลาเซนต้าสปูเรี่ยม (placenta spurium)
ขาดกลไกการขับดัน
-
รกลอกตัวแล้วแต่ไม่อาจผ่านออกมาจากโพรงมดลูกส่วนบนได้ เนื่องจากการหดรัดตัวที่ผิดปกติของมดลูก เช่น การกดเกร็งของปากมดลูก (cervical cramp) และคอนสตริกชั่นริง (constriction ring)
สาเหตุส่งเสริม
-
เคยทำหัตถการที่ส่งเสริมให้เกิดรกค้าง เช่น ผ่าท้องคลอด ผ่าเอาก้อนเนื้องอกออกจากโพรงมดลูก (myomectomy) หรือเคยขูดมดลูก
-
-
-
ผลกระทบ
-
ต่อมารดา
-
มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการถูกตัดมดลูกทิ้ง เนื่องจากรกฝังตัวลึกกว่าปกติ กรณีถูกตัดมดลูก (hysterectomy) จะทให้หมดโอกาสที่จะตั้งครรภ์ต่อไป
-
ความหมาย
ภาวะรกไม่คลอดภายใน 30 นาที หลังจากทารกคลอดโดยทั่วไปรกจะคลอดภายใน 10 นาที หลังจากที่ทารกคลอดแล้ว และไม่ควรเกิน 30 นาที
-