Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ที่มีปัญหาฆ่าตัวตาย :warning:, FaceQ1425641390875, นางสาวปิยธิดา…
ผู้ที่มีปัญหาฆ่าตัวตาย
:warning:
ความหมาย
:check:
ความคิดอยากตายเป็นอารมณ์ชั่ววูบหนึ่ง ซึ่งอาจเกิดขึ้นในคนปกติ ถ้าคิดซ้่าซากเป็นพยาธิสภาพ การฆ่าตัวตายเป็นพฤติกรรมผิดปกติ
คนที่ฆ่าตัวตายทุกคนมีความรู้สึกลังเล คือ ทั้งอยากอยู่และอยากตายในขณะเดียวกัน เพียงแต่มีความรู้สึกทางฝ่ายใดมากกว่า
การฆ่าตัวตาย (Suicide) หมายถึง การมีความคิดอยากทำร้ายตนเอง เนื่องจากมีความรู้สึกหมดหวังในชีวิตหรือจากสาเหตุอื่นๆ
การประเมินพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย
:star:
มีประวัติพยายามฆ่าตัวตาย
พูดเรื่องความตาย การฆ่าตัวตาย ต้องการตายและดูเหมือนอยู่ในภาวะคิดหนัก
กลัวว่าจะนอนไม่หลับตอนกลางคืน และกลัวเวลากลางคืน
ซึมเศร้า และร้องไห้บ่อย
แยกตัวอยู่ในห้อง
ตึงเครียด กังวล หมดหวัง สิ้นหวัง
คิดว่าตนเองเป็นโรคร้าย เช่น มะเร็ง วัณโรค จึงไม่อยากให้ครอบครัวลำบาก
รู้สึกผิดอย่างมากในความเป็นจริง และความคิดฝันหรือรู้สึกไม่มีคุณค่าจึงคิดว่าไม่ควรมีชีวิตอยู่
พูดและคิดเกี่ยวกับการท่าโทษ ความทรมาน และมีคนคิดร้าย
มีท่าทีฟังเสียง (มีประสาทหลอน)
มีท่าทีมีความสุขทันทีทันใดโดยไม่มีเหตุผลหลังจากเศร้าระยะหนึ่ง
เก็บสะสมสิ่งที่จะทำร้ายตนเอง เช่น ลวด เศษแก้ว มีดหรือของมีคมต่างๆ
มีลักษณะก้าวร้าว หุนหัน เกิดขึ้นอย่างไม่คาดคิด
ให้สิ่งของส่วนตัวกับบุคคลอื่น
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
:star:
:red_flag:
เป้าหมาย :
เฝ้าระวังการฆ่าตัวตายหรือการฆ่าตัวตายซ้ำ การส่งเสริมความรู้สึกการมีคุณค่าในตนเอง และการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแลผู้ป่วย
:red_flag:
เป้าหมายระยะสั้น
เพื่อป้องกันการฆ่าตัวตายหรือการฆ่าตัวตายซ้ำ เพื่อส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง และเพื่อให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแล
:red_flag:
เป้าหมายระยะยาว
เพื่อฝึกทักษะในการเผชิญปัญหาอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ เพื่อฝึกทักษะในการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น เนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่มักมีบุคลิกภาพแบบเก็บตัว และขาดทักษะในการสื่อสารความต้องการของตนเองกับผู้อื่น
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าในระดับรุนแรงและเคยมีประวัติการฆ่าตัวตาย
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเนื่องจากรู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่า และใช้กลไกการเผชิญปัญหาไม่เหมาะสม
:star:
กิจกรรมการพยาบาล
วัตถุประสงค์การพยาบาล
:red_flag:
เพื่อช่วยให้ด่ารงชีวิตอยู่ต่อไป
เพื่อเพิ่มความภาคภูมิใจและความเชื่อมั่นแก่ผู้ป่วย
:red_flag:
การช่วยเหลืออย่างเหมาะสม
เข้าใจถึงปฏิกิริยาของตนต่อพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย ทัศนคติ ความคิดเห็น เข้าหาผู้ป่วยในลักษณะที่ไม่ตัดสินพฤติกรรมผู้ป่วย และเข้าใจถึงความรู้สึกของผู้ป่วย
ป้องกันอันตรายให้แก่ผู้ป่วย ไวต่อความรู้สึก สนใจอย่างสม่ำเสมอ
สร้างสัมพันธภาพที่มั่นคงเต็มไปด้วยความไว้ใจ
ปฏิบัติต่อผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ
ให้การพยาบาลต่อปัญหาเฉพาะอย่างของผู้ป่วย เช่น ความโกรธ การสูญเสีย
ให้ผู้ป่วยได้รู้จัก เข้าใจและยอมรับ ความรู้สึกที่เป็นผลให้เกิดพฤติกรรมทำลายตนเอง
ช่วยเหลือให้พัฒนาหรือเรียนรู้กลไกการต่อสู้อุปสรรคแบบใหม่ๆ เช่น การเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มบำบัด
การประเมินผลทางการพยาบาล
:star:
ติดตามผู้ป่วยตลอดกระบวนการพยาบาลและดูว่าประสบความสำเร็จในการช่วยเหลือตามวัตถุประสงค์
ปลอดภัย ไม่มีพฤติกรรมการพยายามฆ่าตัวตาย
รู้สึกมีคุณค่าในตนเองเพิ่มมากขึ้น
สามารถสร้างเป้าหมายในชีวิต และมีความหวังในชีวิตมากขึ้น และมีพลังในการปฏิบัติตนให้บรรลุผลตามเป้าหมาย
มีวิธีการเผชิญปัญหาที่เหมาะสมมากขึ้น
นางสาวปิยธิดา เตราชูสงค์ เลขที่ 37