Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะหลังคลอด, นางสาวเจนจิรา โสันเทียะ เลขที่9 ห้องA, อ้างอิงจาก…
การพยาบาลในระยะหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยาของขอมารดาในระยะหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของระบบสืบพันธุ์
ปากมดลูก
ปากมดลูกไม่เคยผ่นการคลอด
ภายหลังคลอด ปากมดลูก บวม บาง ช้ำ มีรอยถลอกหรือรอบฉีกขาดเล็กน้อยและขยายกว้าง
ปากมดลูกเคยผ่านการคลอด มีลักษณะคล้ายปากปลา(fiah mouth
บริเวณ external os ฉีกขาดไปทางด้านข้างอย่างถาวร มีรูปร่างเป็นวงรี มีรอยฉีกขาดด้านข้าง ขนาดกว้างกว่าปากมดลูกของสตรที่ไม่เคยผ่านการคลอด
สิ้นสุดสัปดาห์ที่ 1 cervix แคบลง มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1ซม.
ช่องคลอดและฝีเย็บ
หลังคลอดบางตัวลง Rugae หายไป Hymen ขาดกะรุ่งกะริ่ง เป็นติ่งเนื้อเล็กๆเรียกว่า carunculae myriformas เป็นการเปลี่ยนแลงถาวร ฝีเย็บกรณีการตัดฝีเย็บหรือมีการฉีกขาดแผลฝีเย็บจะเริ่มหายภายใน2-3 สัปดาห์หลังคลอดบริเวณฝีเย็บจะร้อนแดง eythematous เกิดจากการคั่งและบวมชำ้บางรายไมสุขสบายปวดแผลฝีเย็บ อาจนาน 6 เดืน
มดลูก
น้ำคาวปลา
คือ สิ่งที่ถูกขับออกมาจากแผลในโพรงมดลูกบริเวณตำแหน่งที่เกาะรก ลักษณะเลือดปนน้ำเหลือง มีฤทธิ์เป็นด่าง เฉลี่ยมีปริมาณ 250 มิลลิลิตร ในสัปดาห์แรกหมดภายในสัปดาห์ที่ 3 หรือสัปดาห์ที่ 4 มี3 ลักษณะ Lochiarubra,Lochiaserosa,Lochiaalba
เยื่อโพรงมดลูก
ในระยะ 2-3 วันแรกหลังคลอด เยื่อโพรงมดลูกจะลดขนาดลงเหลือ ประมาณ 9 เซนติเมตรหรือ1 ฝ่ามือ
ทันทีหลังรกคลอด บริเวณตำแหน่งที่รกเกาะจะเกิดแผลผลจากเกิด uterine contraction& arterial vasoconstriction เพื่อป้องกันการเกิด PPH ทำให้เกิดการหายของแผลคือ มีการลอกหลุดของเนื้อเยื่อที่ตายแล้ว บิเวณที่รกเกาะ ทำให้เนื้อเยื่อบริเวณนี้มีขนาดลดลงอย่างรวดเร็วกลายเป็นเนื้อเรียบหายสนิทไม่มีแผลเป็น ถ้าหากมีการตั้งครรภ์ครั้งใหม่ ไข่ที่ผสมแล้วจะสามารถฝังตัวในบริเวณนี้ได้
การลดระดับของมดลูก
1-2 เซนติเมตร หลังคลอดลำมดลูกได้ที่ระดับสะดือ ลักษระกลมแข็ง หดรัดตัวดี อาจเอียงไปด้านขวาของหน้าท้องมารดา วัดได้ประมาณ 1 นิ้วมือ (Finger-breadth: FB) ต่ำกว่าสะดือ
ภายใน 12-24 ชั่วโมง แรกหลังคลอด ยอดมดลูกจะอยู่ที่ระดับสะดือ และจะลดระดับอย่างต่อเนื่อง
ทันทีหลังรกคลอด ความสูงของยอดมดลูกจะลดลงอยู่ระดับกึ่งกลางระหว่างสะดือกับกระดูกหัวเหน่าหรือสูงกว่าเล็กน้อย
เฉลี่ยประมาณ 1เซนติเมตร หรือ 0.5 ถึง 1 ฟุต หรือ 1FB
บ่งบอกของการเกิดภาวะ involution of uterus
ขนาดและน้ำหนักของมดลูก
ทันทีหลังรกคลอดมดลูกมีขนาดลดลง=16 wks. Pregnanancy
1 สัปดาห์ หนัก 500 กรัม
กว้างประมาณ 12 เซนติเมตร และหนาประมาณ 8-10 เซนติเมตร
2 สัปดาห์ หนัก 300 กรัม
ภายหลังคลอด หนักประมาณ 1000 กรัม ยาวประมาณ 15 เซนติเมตร
6 สัปดาห์ หนักประมาณ 60-80 กรัม
Involution of uterus
catabolism
regeneration of uterine epithelium
contraction of muscle fibers
หัวนมและเต้านม
หลังคลอด ฮอร์โมน estrogen และ progesterone ลดลงอย่างรวดเร็ว มีการไหลเวียนเพิ่มที่เต้านม
ต่อมใต้สมองผลิตฮอร์โมน prolaction เพิ่มขึ้นทำให้มีการสร้างน้ำนม
ระยะนี้เกิดกลไกการผลิตน้ำนม (production of milk) หลั่งน้ำนม (let-down reflex)
การเปลี่ยนแปลงของระบบต่อมไร้ท่อ
HCG มีระดับต่ำลงอย่างรวดเร็ว และมีระดับต่ำลง จนกระทั่งมีการตดไข่
Estrogen ลดลงร้อยละ 10 ภายใน 3 ชั่วโมงหลังคลอด เมื่อเปรียบเทียบกับขณะตั้งครรภ์ และลดลงต่ำสุดในวันที่ึ7 หลังคลอด
HPL มีระดับลดลงและตรวจไม่พบในระยะหลังคลอด 24 ชั่วโมง
Progenterone วันที่3 หลังคลอดใน plasma จะต่ำกว่าในระยะ luteal phase ซึ่งเป็น ระยะที่ corpus luteum พัฒนาเยื่อบุโพรงมดลูกให้รองรับไข่ต่อไป
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินปัสสาวะ
การทำงานของไตลดลง อาจเนื่องจากระดับของ Steroid hormone ส่วนประกอบของน้ำปัสสาะ ระยะแรกหลังคลอดพบ lactosuria ระดับ blood urea nitrogen สูงในมารดา BF เนื่งจากการเกิด involution of uterus อาจพบ mild proteinuria (+1) ซึ่งเกิดจากกระบวนการย่อยสลายโมเลกุล
การเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจและหลอดเลือด
การสูญเสียเลือดในระยะคลอด ทำให้ปริมาณเลือดในร่างกายลดลง ประมาณ 1-2 สัปดาห์
2-3 ชั่วโมงแรกจะสูงขึ้นชั่วคราวเนื่งจากมดลูกมีขนาดเล็กลงและแรงกดที่บริเวณมดลูกลดลงและน้ำนอกหลอดเลือดกลับเข้าสู่หลอดเลือด
ขีพจร เกิด bradycardia ประมาณ 50-60 min เนื่องจาก cardiac output เพิ่มขึ้น และ stroke volume
ความดันโลหิต ภายใน 48 ชั่วโมงหลังคลอด BP อาจสูงขึ้นหรือลดลงได้เล็กน้อย กลับคืนสู่ระดับปกติประมาณวันที่4 หลังคลอด
การเปลียนแปลงของระบบทางเดินอาหาร
น้ำหนัก,ท้องผูก,ความอยากอาหารเพิ่มขึ้นจากการสูญเสียพลังงานในการคลอด,NPO,รันยาบรรเทาความปวด รวมทั้งการสูญเสียน้ำ เลือด ในระยะคลิอด และหลังคลอดออกทางปัสสาวะ เหงื่อ และน้ำคาวปลา
การเปลี่ยนแปลงของระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้าง
กล้ามเนื้อและข้อต่อ
1-2 วันหลังคลอดมารดามีกมีอาการล้าและปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เป็นผลมาจากการเบ่งคลอด
กล้ามเนื้อหน้าท้อง
ผนังกล้ามเนื้อมีการยืดขยายจากการคลอด ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลงโดยเฉพาะสตรีที่ผ่านก่รคลอดหลายครั้งพบ diastasis recti เกิด rectus abdomenis ออกเป็น 2 ส่วนทำให้กล้ามเนื้อตรงกลางหน้าท้อง
การเปลี่ยนแปลงระบบผิวหนัง
Linea nigra, facial chloasma สีผิวที่เข้มขึ้นบริเวณลานนมจะจางลง และหายไป Striae gravidarum บริเวณหน้าท้อง เต้านม และต้นขาจะค่อยๆจางเป็นสีเงิน และจะไปหายสมบูรณ์
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคมของมารดาในระยะหลังคลอด
การดำรงบทบาทการเป็นมารดา
ระยะคาดหวังบทบาท
ระยะการกระทำบทบาทตามรูปแบบ
ระยะการกระทำบทบาทของตนเองที่ไม่เป็นตามรูปแบบเฉพาะ
ระยะการกระทำบทบาทตามเอกลักษณ์ของตนเอง(1-4 เดือนหลังคลอด)
ปัจจัยที่มีผลต่อการปรับตัวของมารดาหลังคลอด
ภาวะสุขภาพของมารดา
ด้านครอบครัว สังคมและสิ่งแวดล้อม
ภาวะสุขภาพของบุตร
ระดับการศึกษาและรายได้ครอบครัว
สัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส
อายุ
พันธกิจในระยะหลังคลอด
การปรับตัวในการการดูแลบุตร
การตอบสนองของบุตรต่อการดูแล
การยอมรับบุตร
ความคิดเห็นจากบุคคลใกล้ชิดและบุคคากรทางสุขภาพ
การกำหนดตำแหน่งสมาชิกในครอบครัวให้บุตรคนใหม่
ภาวะซึมเศร้าภายหลังคลอด(Postpartum Depressios
ภาวะซึมเศร้าหลังคล้ายกับโรคซึมเศร้าทั่วไปลักษณะอาการของภาวะซึมเศร้าหลังคลอด พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงในกิจกรรมการนอนหลับ ความอยากอาหาร มีอารมณ์เศร้า หงุดหงิด มีความวิตกกังวล จัดการปัญหาไม่ได้ มีความคิดเชิงลบ กลัวเมื่อต้องอยู่คนเดียว สับสนสูญเสียการรับรู้ รู้สึกผิด สูญเสียความมั่นใจ และมีความคิดอยากทำร้ายตัวเองหรือทำร้ายบุตร ลักษระดังกล่าวแตกต่างจากอารมณืเศร้าหลังคลอด (Postpartum blue) คือมีอาการรุนแรงมากกว่าจนถึงขั้นรบกวนความเป็นอยู่ การเลี้ยงดูทารก และอาการอยู่นานเกิน 2 สัปดาห์
โรคจิตหลังคลอด(Postpatum psychosis
เป็นอาการที่มีความรุนแรงมาก รูปแบบโรคจิตหลังคลอดเป็นรูปแบบที่รุนแรงมาก และมีความผิดปกติ ของอารมณืที่สุด อาการเริ่มต้นใน 48-72 ชั่วโมง ภายหลังคลอด และมีการพัฒนาอาการภายใน 2 สัปดาห์ ซึ่งมักจะแสดงอารมณ์เศร้าหรือมีอารมณ์สุข แต่อาการจะเปลี่ยนอย่างรวดเร็วมีอาการหลงผิดและเห็นภาพหลอนร่วมด้วย
อารมณ์เศร้าหลังคลอด(potpartum blues)
เกิดระยะแรกหลังคลอดและต่อเนื่องจนถึง 3-4 วัน หลังคลอดอาการแสดง ได้แก่ มีอารมณืหงุดหงิด ร้องไห้ วิตกกังวล รบกวนการนอนหลับและความอยากอาหาร การให้คำจำกัดความของอารมณเศร้าหลังคลอด คือ อารมณ์ที่มีระยะเกิดอาการสั้น อาการไม่รุนแรง ไม่ต้องรักษาใดๆ และอาการจะกลับคืนสู่ภาวะเดิม
นางสาวเจนจิรา โสันเทียะ เลขที่9 ห้องA
อ้างอิงจาก: คู่มือการพยาบาลการส่งเสริมสายสัมพันธ์แม่-ลูกและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในห้องคลอด