Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก, นางสาวอภิสรา เอื้อกูล เลขที่90 ห้องA…
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหักที่พบบ่อย
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียสเป็นการเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียสออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด
กระดูกปลายเเขนหักที่พบได้บ่อยในเด็กตั้งเริ่มหัดเดินจนถึงวัยรุ่น
กระดูกข้อศอกหัก
กระดูกต้นขาหัก
กระดูกต้นเเขนหัก
1.กระดูกไหปลาร้า
โรคเเทรกซ้อนเเละการป้องกัน
โรคเเทรกซ้อนที่ทำให้เเขน มือเเละนิ้วหงิกงอ : Volkmen's ischemic contracture
ลักษณะรูปร่างของนิ้ว มือ เเละเเขน
ข้อ metacarpophalangeal กระดกขึ้น หรือมีextension
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
ข้อมือพับลง (palmar flemion)
6.อาจมีอัมพาต ถ้าmedian nerve หรือ ulnar nerveถูกทำลาย
ข้อศอกอาจจะงอ
กล้ามเนื้อเเขนลีบเเข็ง
8.ข้อเกือบทุกข้อจะเเข็ง บางรายอาจจะกระดิกได้
กล้ามเนื้อมือลีบ
เเขนอยู่ในท่าคว่ำมือ (pronation)
สาเหตุ
1.ปลายกระดูกส่วนบน
2.เลือดเเข็งจับกันเป็นก้อน
3.งอพับข้อศอกมากเกินไป
4.จากการเข้าเฝือก
แนะนําผู้ปวยปฏิบัติตัวให้ถูกต้องหลังเข้าเฝือก
ปวดบวม ชา ต้องปรึกษาแพทย์ตัดเฝือกทันที
ถ้ามีอาการบวมและปวดแสดงว่าเฝือกรัด ควรปรึกษาแพทย์
ยกบริเวณทีหักให้อยู่สูงกว่าหัวใจตลอดเวลา
วิธีป้องกัน
2.อย่างอศอกมากเกิน
3.ใช้ slap ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าธรรมดา
1.จัดกระดูกให้เข้าที
โรคคอเอียงเเต่กำเนิด
การรักษา
การยืดเเบบใหเด็กหันศีรษะเอง (active strech)
การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis)
การยืดโดยวิธีดัด (passive strech)
การวินิจฉัย
การตรวจร่างการ ซักประวัติ
2.ภาพรังสีกระดูกคอ
กระดูกสันหลังคด
(Scoliosis)
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางท้องปฏิบัติการ
การซักประวัติ
การรักษา
แก้ไขหรือลดความพิการ
ป้องกันและลดความปวด
ป้องกันไม่ให้เป็นโรคมากขึ้น
ปรับปรุงสมรรถภาพปอดและหัวใจ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ให้กระดูกสันหลังมีความสมดุลแข็งแรง
อาการเเสดง
8.เริ่มมีอาการเมื่ออายุน้อย ยิ่งมีความพิการมาก
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจํากัด
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลําตัว
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา
5.ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
6.ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านหน้า ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
7.ปวดเมื่อยหลังคดมาก
กระดูกหัก
สาเหตุ
มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุนำมาก่อนมีแรงกระแทกบริเวกระดูกโดยตรงเช่น ถูกตี รถชน
หรือจากการกระตุ้นทางอ้อมเช่น หกล้ม เอามือยันพืน กระดูกฝามือไม่แตกกลับไปแตกบริเวณเหนือข้อมือ
อาการและอาการแสดง
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือ กระดูกเกยกัน
3.รอยจ้้ำเขียว
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การรักษา
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
เป้าหมายการรักษา : ในระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวด จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว ให้อวัยวะนั้นกลับทำงานได้เร็วทีสุด
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการจํากัดความเคลื่อนไหว
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการ เคลื่อนไหว
ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที่ด้วยการกระตุ้นให้เด็กหายใจเข้าออกลึกๆแรงๆ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ประเมินอาการและอาการเกิดภาวะแทรกซ่อน
ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารทีจะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
ทำความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือกด้วยการชะล้าง
การพยาบาลเพื่อให้คําแนะนําการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน
การดูแลแผลผ่าตัด
ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำหรือสกปรก
ห้ามผู้ปวยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
ควรสังเกตอาการผิดปกติที่จําเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดี
รักษาสุขภาพ อนามัยให้แข็งแรงอยู่เสมอ
นางสาวอภิสรา เอื้อกูล เลขที่90 ห้องA รหัส 613601096