Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด, นางสาวนริศรา สิทธิศักดิ์ เลขที่…
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด
BONDING&ATTACHMENT
การประสานสายตา (Eye to eyecontact)
การสัมผัส (Touch)
การใช้เสียงแหลมสูง (Highpitched voice)
การให้เวลาและความมั่นคง(Time giver)
การเคลื่อนไหวตามเสียงพูด
(Entrainment)
การรับกลิ่นมารดา (Oder)
การให้ความอบอุ่น (Heat)
การให้ภูมิคุ้มกันทางน้ำนม (T and B Lymphocytes)
การให้ภูมิคุ้มกันทางเดินหายใจ (Bacteria nasal flora nasal flora nasal flora )
ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ปัจจัยด้านทารก
ปัจจัยด้านมารดา
ปัจจัยด้านโรงพยาบาล
ปัจจัยด้านบิดา
บทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ส่งเสริมให้มารดามีโอกาสสัมพัสกับบุตรในระยะ sensitive period คือในช่วง 45 นาทีแรกหลังหลอด
จัดให้มารดาอยู่กับบุตรโดยเร็ว(Rooming in)เพื่อให้มารดาได้เรียนรู้ที่จะเลี้ยงดูพฤติกรรมของทารก
การช่วยมารดาเริ่มให้ลูกดูดนมภายในครึ่งถึงหนึ่งชั่วโมงหลังคลอด( early suckling )
ระยะตั้งครรภ์
• ยอมรับการตั้งครรภ์
• ครอบครัวคอยให้กาลังใจ
• การปรับบทบาทการเป็นบิดา มารดา
• ยอมรับความเป็นบุคคลของทารกในครรภ์
• การกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์
ระยะคลอด
• สร้างบรรยากาศให้เกิดความไว้วางใจ
• ลดความวิตกกังวลของผู้คลอด
• ให้ข้อมูล เป็นสื่อกลางระหว่างผู้คลอดและครอบครัว
• *ส่งเสริมให้การคลอดผ่านไปอย่างปลอดภัย
ระยะหลังคลอด
• ส่งเสริมให้มารดาสัมผัส โอบกอดทารกทันทีหลังคลอด ในระยะ sensitive period • Rooming in โดยเร็วที่สุด
• ให้คำแนะนำในการดูแลบุตร
• ตอบสนองความต้องการของมารดา
• กระตุ้นให้มีปฏิสัมพันธ์กับทารก
• เป็นตัวแบบในการสร้างสัมพันธภาพกับทารก
• ให้มารดา ทารก บิดา ได้อยู่ด้วยกันตามลำพัง
การประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ใช้การสังเกต สอบถาม ซึ่งมีแนวทางการประเมินสัมพันธภาพ ดังนี้
ความสนใจในการดูแลตนเองของตนเองและทารก
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก
ความสามารถในการปฏิบัติบทบาทการเป็นมารดา
ความสามารถในการตอบสนองความต้ดงการของทารก
พฤติกรรมของมารดาและทารกที่แสดงถึงการขาดสัมพันธภาพ (Lack of attachment )
ไม่ตอบสนองต่อบุตร เช่น ไม่สัมผัส ไม่ยิ้ม ไม่อุ้มกอดทารก เป็นต้น
พูดถึงบุตรในทางลบ
ไม่สนใจมองบุตร สีหน้าเมินเฉยหรืดหันหน้าหนี
แสดงท่าทางหรืดคำพูดที่ไม่พึงพอใจขณะดูแลบุตร
ขาดความสนใจในการซักถามเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุตรและการเลี้ยงดูบุตร
นางสาวนริศรา สิทธิศักดิ์ เลขที่ 13
นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 26 ห้อง A