Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็ก กระดูกกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็ก กระดูกกล้ามเนื้อ
การติดเชื้อในกระดูกและข้อต่อ (Bone and Joint infection)
Definite (ติดเชื้อกระดูกอย่างแน่นอน)
Likely (คล้ายติดเชื้อที่กระดูก)
Probable (น่าจะติดเชื้อที่กระดูก) ติดเชื้อในเลือด
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ ต้องมี 5 ใน 6
ปวดข้อ
ปวดเมื่อขยับข้อ
อุณหภูมิร่างกาย > 38.3 องศาเซลเซียส
ข้อบวม
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่น ๆ ร่วม
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
Osteomyelitis
พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี พบมีการติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาวมากที่สุด
สาเหตุ : เชื้อแบคทีเรีย, เชื้อรา
การวินิจฉัย : การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการตรวจทางรังสี
การรักษา :ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาขอแพทย์
และการผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
ภาวะแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
สาเหตุ : เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่น จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิค มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อข้อ
ผล Lab เจาะดูดน้าในข้อ
การตรวจทางรังสี
การรักษา : การให้ยาปฏิชีวนะ
และการผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
ข้อเคลื่อนและถูกทำลาย
Growth plate ถูกทาลาย
หัวกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
วัณโรคกระดูกและข้อในเด็ก
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ : เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ จากการไอ จามของผู้ป่วย
อาการและอาการแสดง :อาการจะเริ่มแสดงหลังการติดเชื้อประมาณ 1-3 ปี
การวินิจฉัย
ลักษะทางคลินิกอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆ ตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้าเหลืองโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจทางรังสี
การรักษา :ให้ยาต้านวัณโรคและการผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน : กระดูกสันหลังค่อมหรืออาการกดประสาทไขสันหลัง จนอ่อนแรงหรือเป็นอัมพาต
Club Foot (เท้าปุก)
รูปร่างของเท้าที่มีลักษณะข้อเท้าจิกลง (equinus) ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus) ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
สาเหตุ : ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด
การวินิจฉัย : การตรวจดูลักษณะรูปร่างเท้าตามลักษณะตามคาจากัดความ “เท้าจิกลง บิดเอียงเข้าด้านใน”
การรักษา : การตัดหรือการใส่เฝือก และการผ่าตัด
ฝ่าเท้าแบน (Flat feet)
อาการ : อาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว ปวดฝ่าเท้า
สาเหตุ : พันธุกรรม การเดินที่ผิดปกติ เอ็นข้อเท้าฉีด หรือโรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
Cerebral Palsy
ความพิการทางสมอง เด็กจะมีการเคลื่อนไหวร่างกายที่ผิดปกติ
การเคลื่อนไหว
Athetoid CP
Mixed CP
Ataxic CP
Spastic CP
quadriplegia
Diplegia
Double hemiplegia
อื่นๆ
Hemiplegia
การรักษา
ลดความเกร็ง โดยใช้ยา
การผ่าตัด
ป้องกันความผิดรูปของข้อ ต่างๆ โดยการทำกายภาพ
การให้การดูแลรวมถึงให้กาลังใจ
การรักษาด้านอื่นๆ
สาเหตุ
ระหว่างคลอด
คลอดยาก สมองกระทบกระเทือน
หลังคลอด
ก่อนคลอด
การติดเชื้อ
มารดามีโรคแทรกซ้อน
อุบัติเหตุเกิดกับมารดา
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
พบในเด็กมากกว่าในผู้ใหญ่ พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
อาการและอาการแสดง : ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก น้ำหนักลด มีไข้ ารเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่เป็นผิดปกติ หรืออาจมีกระดูกหัก
การวินิจฉัย : การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
การผ่าตัด
Omphalocele
เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง โดยที่มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ ทำให้บางส่วนขาดหายไป
วินิจฉัยภาวะ omphalocele ได้ ภายหลังคลอดพบบริเวณกลางท้องทารกมีถุงomphalocele ติดอยู่กับผิวหนัง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 4 ซม. ขึ้นไป
อวัยวะที่อยู่ในถุงอาจประกอบไปด้วยลำไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ กระเพาะอาหาร ม้าม และตับ
การรักษา
conservative
ทำโดยใช้สารละลายฆ่าเชื้อ (antiseptic solution) เหมาะสาหรับในรายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่
operative
วิธีแรกเป็นการเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย (primary fascial closure)
วิธีเป็นการปิดผนังหน้าท้องโดยทาเป็นขั้นตอน (staged repair)
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
พบได้มากในเด็กอายุ 6 เดือน – 3 ปี จากการขาดวิตามินดี
โรคของเมตาบอลิซึมของกระดูกที่พบในเด็ก ความบกพร่องในการจับ
เกาะของเกลือแร่บนเนื้อกระดูกอ่อน
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลาไส้ ดูดซึมได้น้อย
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
โรคไตบางชนิด
ภาวะฟอสเฟตต่ำ (Hypophosphatasia)
อาการและอาการแสดง : ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น ขวบปีแรกเด็กจะมีความผิดรูป
การักษา
แบบประคับประคอง
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
การป้องกัน
การที่มีผนังหน้าท้องแยกจากกัน Gastroschisis
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์แล้ว เกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
การวินิจฉัย : เมื่อคลอดพบว่าที่หน้าท้องทารกจะพบถุงสีขาวขุ่นบาง
การดูแลรักษาพยาบาล
การดูแลเฉพาะ : การทำแผล
การแก้ไขปัญหาฉุกเฉิน : Incubator การประเมินการหายใจ ใส่ orogastric tube ให้ antibiotic เป็นต้น
การดูแลทั่วไป : การอาบน้า การให้วิตามินเค รักษาความอบอุ่น การประเมินสภาพ เป็นต้น
หลังผ่าตัด :Respiratory distress, Hypothermia, Hypoglycemia, Hypocalcemia ,General care ,Fluid and nutrition support ,Antibiotic prophylaxis ,Wound care
ก่อนผ่าตัด : เช็ดทาความสะอาด ลำไส้ส่วนที่ สกปรก ป้องกันการติดเชื้อ