Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสื่อสารทางการพยาบาล Nursing communication - Coggle Diagram
การสื่อสารทางการพยาบาล
Nursing communication
ความหมายของการสื่อสาร
ทางการพยาบาล
คำว่า การสื่อสาร (communications)
มาจากรากศัพท์ภาษาลาตินว่า communis หมายถึง ความเหมือนกันหรือร่วมกัน
หมายถึง กระบวนการปฎิบัติในการแลกเปลี่ยนข้อมูล การคิดและการตัดสินใจร่วมกันในทีมดูแลสุขภาพ และระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วยและญาติ ผ่านการรวบรวมข้อมูลผู้ป่วยและข้อมูลสุขภาพ การบันทึกและการรายงานข้อมูล โดยเป็นการสื่อสารในสถานการณ์ในโรงพยาบาล และการสื่อสารเพื่อป้องกันการร้องเรียนและการฟ้องร้อง ที่นำไปสู่คุณภาพและความปลอดภัยของผู้ป่วย
ประเภทของการสื่อสารพยาบาล
(แบ่งตามเกณฑ์)
การใช้ภาษา
การสื่อสารเชิงวัจนภาษา
(Verbal communication)
การพูดคุย การบรรยาย
การเขียนจดหมาย บทความ
การสื่อสารเชิงอวัจนภาษา
(Non-verbal communication)
สื่อสารโดยไม่ใช้ถ้อยคำ
สัมผัวภาษา อาการภาษา วัตถุภาษา
ความสามารถในการโต้ตอบ
การสื่อสารทางเดียว
(One-way communication)
การสื่อสารผ่านสื่อมวลชนทุกชนิด เช่น วิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ
การสื่อสารสองทาง
(Two-way communication)
สื่อสารระหว่างบุคคล
การสื่อสารระหว่างกลุ่ม
การพูดคุยการสนทนา
จำนวนผู้สื่อสาร
การสื่อสารภายในตัวบุคคล
(Intrapersonal communication)
การพูดกับตัวเอง
การคิดคำนึงถึงเรื่องต่างๆ
การร้องเพลงฟังเอง
การสื่อสารระหว่างบุคคล
(Interpersonal communication)
การพูดคุย2คนขึ้นไป
การเขียนจดหมาย
การประชุมกลุ่มย่อย
การสื่อสารกลุ่มใหญ่
(Large group communication)
การอภิปรายในหอประชุม
การพูดหาเรื่องเลือกตั้ง
การสื่อสารในองค์กร
(Organizational communication)
การสื่อสารในบริษัท
การสื่อสารในหน่วยงานราชการ
การสื่อสารมวลชน
(Mass communication)
การสื่อสารผ่านสื่อต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ นิตยสารฯลฯ
ความเเตกต่างระหว่างผู้รับสารเเละผู้รับสาร
การสื่อสารระหว่างเชื้อชาติ
(Interracial communication)
ชาวไทยสื่อสารกับคนต่างชาติ หรือ คนต่างชาติสื่อสารกับคนไทย
การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
(Gos sculptural communication)
การสื่อสารระหว่างคนภาคใต้กับภาคเหนือ หรือภาคอื่นๆ
การสื่อสารระหว่างประเทศ
(International communication)
การเจรจาติดต่อสัมพันธ์ทางการทูต หรือฐานะตัวเเทนประเทศ
การเห็นหน้ากัน
การสื่อสารแบบเผชิญหน้า
(Face to face communication)
การสนทนาต่อหน้ากัน
การประชุมสัมมนา
การเรียนการสอนในชั้นเรียน
การสื่อสารเเบบไม่เผชิญหน้า
(Interposed communication)
การสื่อสารที่ผ่านสื่อมวลชนทุกชนิด เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ
ความสำคัญของการสื่อสาร
ทางการพยาบาล
ก่อให้เกิดการสานสัมพันธ์กันระหว่างบุคคลและสังคม ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างคนในสังคม
ช่วยธำรงสังคมให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
เป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าทั้งตัวบุคคลและสังคม การพัฒนาสังคมในด้านต่างๆ รวมทั้งศาสตร์ในการสื่อสาร จึงเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์และความเจริญก้าวหน้าในด้านต่างๆ
เป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ทุกคน เนื่องจากต้องใช้ในการปฎิบัติงานต่างๆ โดยเฉพาะสังคมมนุษย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาตลอดเวลา
เกณฑ์ตัดสิน
ประสิทธิภาพการสื่อสาร
6C’s
Correctness: ถูกต้อง หมายถึง
ถูกต้องทั้งตัวสะกดและไวยากรณ์
Concise : สั้นกะทัดรัด หมายถึง การตัดคำฟุ่มเฟือย สื่อสารเฉพาะสิ่งที่ต้องการสื่อสาร
Clear : ชัดเจน หมายถึง ข่าวสารที่ชัดเจน ใช้คำตรงไปตรงมา เหมาะสมกับสถานการณ์ ซึ่งจะทำให้เข้าใจง่ายและเพิ่มความหมายของสาร
Consideration : เข้าใจ บ่งชี้ถึงการเอาตัวเราเข้าไปในจิตใจผู้อื่น ต้องเข้าใจในตัวผู้รับสาร
Complete : สมบูรณ์ หมายถึง ข่าวสารควรมี
ความสมบูรณ์และเป็นจริงตามที่ผู้รับต้องการ
ดังนั้นผู้ส่งสารต้องเป็นผู้รับผิดชอบ
Courtesy : มีมารยาท ควรแสดงความรู้สึกรวมถึงให้ความนับถือผู้รับสาร โดยการใช้คำสุภาพ
ปัจจัยเเละอุปสรรคที่มีผลต่อการสื่อสารพยาบาล
ปัจจัยที่มีผลต่อการสื่อสาร
ปัจจัยด้านสิ่งเเวดล้อมของการสื่อสาร
ได้เเก่ เวลา สถานที่ บุคคล อุปกรณ์ต่างๆ เเละรวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างตัวผู้ที่มาสื่อสาร การสื่อสารจะราบรื่นเเละเกิดผลดี ถ้าผู้สื่อสารทำการสื่อสารได้เหมาะสมกับกาลเทศะเเละสิ่งเเวดล้อม
ปัจจัยด้านสภาพการสื่อสาร
การสื่อสารทางเดียวหรือสองทาง
การสื่อสารสองทาง จะให้ผลดีกว่าการสื่อสารทางเดียว ทั้งทางด้านความเข้าใจ และสัมพันธภาพระหว่างคู่สื่อสาร
การสื่อสารหลายทอด
มักเกิดการบิดเบือนของสาร(distortion) อาจเกิดจากการตั้งใจ หรือไม่ตั้งใจ เนื่องจากการสับสน
อุปสรรคในการสื่อสาร
อุปสรรคที่เกิดจากผู้ส่งสาร
ขาดความรู้ความเข้าใจของสาร
ใช้วิธีถ่ายทอดเเละการนำเสนอไม่เหมาะสม
มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อสาร
ขาดความพร้อมในการส่งสาร
อุปสรรคที่เกิดจากสาร
ไม่เหมาะกับผู้รับสาร อาจจะยากหรือง่ายเกินไป
ขาดการจัดลำดับที่ดี ขาดความชัดเจน
ภาษาคลุมเครือ
อุปสรรคที่เกิดจากสื่อ หรือช่องทาง
ใช้สื่อไม่เหมาะกับสารในการนำเสนอ
ใช้สื่อที่ไม่มีประสิทธิภาพ
ใช้ภาษาไม่เหมาะระดับของการสื่อสาร
อุปสรรคที่เกิดจากผู้รับสาร
มีทัศนคติไม่ดีต่อผู้ส่งสารหรือสารที่ได้รับ
มีความคาดหวังในการสื่อสารมากเกินไป
ขาดความรู้และความพร้อมในการรับสาร
จริยธรรมการสื่อสารที่เกี่ยวกับการสื่อสารของพยาบาล
5.เเนวคิดเชิงจริยธรรมในการพยาบาลมี4เเนวคิด
2.หน้าที่รับผิดชอบ(accountability)
หมายถึงขอบเขตหน้าที่และ ขอบเขตหน้าที่และภาระหน้าที่ความสัมพันธ์กับบทบาทของพยาบาล คือการช่วยเหลือผุ้ป่วยเเต่ละคนให้ได้รับการดูเเลสุขภาพ
ที่มีคุณภาพ
4.ความเอื้ออาทร(caing
)
เป็เป็นสิ่งที่มีคุณค่าในความสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วยด้ ด้วยบทบาทของพยาบาลที่ป้องกันศักดิ์ศรีในการดำรงรักษา ในการดำรงรักษาสุขภาพของมนุษย์
1.การไม่ทอดทิ้ง การไม่ทอดทิ้งผู้ป่วย
2.กางให้ การให้ความเคารพผู้ป่วย
3.การเห็นอกเห็นใจผู้ป่วย
4.ความเป็นกันเองกับผู้ป่วย
1.การพิทักษ์สิทธิ(advocacy)
การให้ความช่วยเหลืออย่างเต็มความสามารถ
เมื่อมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น ในทางกฎหมาย
หมายถึงการทำหน้าที่ปกป้องสิทธิมนุษยชน
3.ความร่วมมือ(cooperation)
การมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันบุ บุคคลอื่นเพื่อคุณภาพการดูแลผู้ป่วยความร่ ความร่วมมือจ้าช่วยสนับสนุนกิจกรรมการพยาบาลเช่นการทำงานกับ การทำงานกับผู้อื่นที่มีเป้าหมายร่วมกัน
3.ทฤษฎีจริยศาสตร์
2ทฤษฎี
1.ทฤษฎีประโยชน์นิยม
Utilitarianism
ทฤษฎีนี้ถือว่า ผลของการกระทำที่ก่อให้เกิดประโยชน์เเก่จำนวนคนมากที่สุด เท่าที่จะจะทำได้
“จอห์น สจวร์ต มิลล์ JohnStewart mill”
ได้สรุปทฤษฎีเเละเกณฑ์ในการตัดสินคุณค่าทางจริยธรรม ไว้ดังนี้
2.เกณฑ์การตัดสินคุณค่าความประพฤติ
3.ผลการกระทำที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
1.คุณค่าทางจริยธะไม่มีอยู่จริง เป็นสิ่งที่คนเรา
สมมติขึ้น ขึ้นกับสภาพเเวดล้อม
4.ผลประโยชน์ย่อมอยู่เหนือหลักการ
2.ทฤษฎีหน้าที่นิยม
Formalism
คือความถูกต้องทางศีลธรรมของการกระทำถูกกำหนดโดยภาระหน้าที่ เเละกฎที่เเน่นอนตายตัว
“อิมมานูเอล คานท์ Immanauel kant”
ความมุ่งมั่นในหน้าที่ จะสั่งด้วยคำสั่งเด็ดขาด
(Categorical imperative)หมายถึงสิ่งที่ต้องทำตามความมุ่งมั่นในหน้าที่อย่างไม่มีเงื่อไข
2.กระทำโดยความสำนึกว่าบุคคลเป็นจุดหมาย
ไม่ไม่ใช่วิถีไปสู่จุดหมายอื่น
3.กระทำโดยคำนึงว่าต้ ตนมีเสรีภาพและมนุษย์ และมนุษย์ทุกคนต่างก็มีเสรีภาพ
1.กระทำโดยความสำนึกเป็นกฎสากล
เเนวคิดของปรัชญาการพยาบาลมี5ข้อ
1.มนุษย์เเต่ละคนเป็นสิ่งที่มีคุณค่าในตัวเอง
2.การพยาบาลเป็นการปฎิบัติที่มีเหตุผล
หมายถึง การต้องอาศัยข้อเท็จจริง การพิจารณาไตร่ตรอง
3.ลักษณะเฉพาะของพยาบาล คือการนำความรู้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วย
4.พยาบาลเเต่ละคนมีฐานะของการเป็นพลเมืองคนหนึ่งของสังคม จึงมีหน้าที่รับผิดชอบต่อสังคมเเละต่อหน้าที่พยาบาล
5.การพยาบาลมีการทำงานเป็นระบบมีวิธีการเเละมีกระบวนการเปลี่ยนเเปลงที่สร้างสรรค์
2.ปัญหาจริยธรรมทางพยาบาล
Ethical problems in nursing
คือปัญหาที่พยาบาลต้องพิจารณา
ว่าควรตัดสินใจเลือกทำอย่างใดอย่างหนึ่ง
2.เป็นปัญหาที่มีความซับซ้อนจนอยาก
ที่จะกำหนดได้เเน่ชัดว่าจะใช้ข้อเท็จจริง
3.ผลของปัญหาจริยธรรมที่เกิดไม่เพียงกระทบต่อ
เหตุการณ์เฉพาะหน้าในปัจจุบันเท่านั้น
1.เป็นปัญหาที่ไม่อาจหาข้อยุติได้จาก
เพียงข้อเท็จจริงที่ประจันษ์(empirical data)เเต่เพียงด้านเดียว
4.คุณธรรมเเละจริยธรรมในการสื่อสาร
พวกที่ใช้ในการพิจารณาสารว่าควรจะส่งในผู้รับสาร
สารที่เหมะสมเเก่การให้เเก่ผู้รับสาร เราควรจะส่งสารอย่างไรดี
1.:หลักการในการพิจารณาสารที่จะส่ง
1.ปฎิจจสมุปบาท เป็นวิธีคิดว่าด้วยเหตุผลคือคิดจากเหตุไปหาผล
ตัวอย่างเช่นเวลาพูดอะไรออกไป ต้องคิดว่าพูดอย่างนี้เเล้วจะทำให้
เค้ารู้สึกอย่างไร มีผลดีสำหรับตัวเค้ามั้ย
2.ศีล5 นากจากการใช้วาจาที่สุขภาพอ่อนหวานเเล้ว
ข้อมูลที่เราได้ส่งให้ผู้รับสารนั้นต้องเป็นข้อมูลจริง การส่งสารเท็จเป็น
การผิดคุณธรรม
2.หลักธรรมที่ช่วยในการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
2.สติ สัมปชัญญะ จะเกิดจะเกิดควบคู่กันถ้ ถ้าสติคื คือความรับรู้ความละลึกได้ ความละลึกได้
เเต่ถ้าขาดสติเพราะว่ เพราะว่าต้องจะสื่ออะไร
1.สังควัตถุ4 หลักธรรมนี้เป็นหลักธรรมที่เราคุ้นเคย เป็น
หลักธรรมให้ยึดเหนี่ยวจิตใจ
เทคนิคที่สำคัญและจำเป็นใช้ในการสื่อสารในการปฏิบัติการพยาบาล
1.ทักษะการใส่ใจ(Attending skill)
เพื่อวางรากฐานการติดต่อสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการสื่อสารถึงความสนใจเอื้ออาทรและเป็นการแสดงการยอมรับนับถือ
1.1 การแสดงออกทางสีหน้า
พฤติกรรมการพดูของผู้ใช้บริการสีหน้าแสดงความตื่นตัว ตอบสนองการสื่อสาร สอดคล้องกับที่ผู้รับบริการพดู การแสดงออกที่สามารถสังเกตได้มากที่สุด คือการยิ้ม
1.2 การผงกศีรษะ
การผงกศีรษะเป็นครั้งคราวพร้อมกับประสานสายตาเป็นการแสดงว่ามีการรับฟังด้วยความสนใจ ทำให้ผู้รับริการเกิดความมั่นใจ
1.3พฤตกิรรมการพด
การพูดด้วยคำพูดหรือวลีสั้นๆ เข้าใจง่ายและเหมาะสมกับผู้ใช้บริการ
1.4 น้ำเสียง
เสียงที่น่าฟัง ไม่แสดงความตื่นเต้น เสียงไม่สูง หรือตตำ่เกินไป ทำให้
ผู้ใช้บริการเกิดความแน่ใจว่า เรามีความพร้อมในการฟัง
2.ทักษะการฟัง(listening skill)
การฟังเป็นการตอบสนองสิ่งแรกที่ใช้เป็นพื้นฐาน ในการให้การช่วยเหลือผู้ใช้บริการ การฟังด้วยความใส่ใจเป็นการแสดงถึงการยอมรับบุคคลนั้น
การมอง
มองไปยังผู้ใช้บริการโดยไม่จ้องมากเกินไปเพราะจะทำให้รู้สึกว่าไปรุกล้ำอาณาเขต ส่วนตัวหรือไม่น้อยเกินไป จนรู้สึก ว่าไม่ได้รับความสนใจ
การยิ้ม
แสดงให้เห็นการตื่นตัว การรับฟัง
การพยักหน้า
การเคลื่อนไหวศีรษะแสดงการยอมรับบอกถึงการติดตามเรื่องราวที่กกำลังเล่า เป็นการกระตุ้นให้ผู้ใช้บริการพูดต่อไป
การออกเสียง
แสดงความตั้งใจรับฟังโดยการสื่อสารด้วยภาษาท่า ทาง ได้แก่ อืม อ๋อ
การใช้คำพูด
แสดงถึงการสนใจ ตามด้วยคาพดู สั้น กระตุ้นหรือชี้แนะ สอบถาม
3.ทักษะการใช้คำถาม
เพื่อให้ทราบข้อมลูของผู้ใช้บริการสามารถแสวงหาข้อมลูหรือข้อเท็จจริงได้มากขึ้น
การเตรียมคำถาม
การเตรียมคำถามอย่างกว้างๆ
การดำเนินการใช้คำตอบ
การใช้คำถาม ควรจะทำการฝึกฝนอยู่สม่ำเสมอ
2.1 คำถามเพื่อฟังความคิดเห็น
“วันนี้คุณเป็นอย่างไรบ้าง”
2.2 คำถามเพื่อสอบถามข้อมูล
“วันนี้จะมีญาติมาเยี่ยมคุณไหมคะ”
2.3 คาถามเพื่อความกระจ่าง
“ที่คุณพูดหมายความว่าอย่างไรคะ”
2.4คำถามเพื่อย้ำหรือสรุป
“คุณหมายความว่า.....ใช่ไ่หมคะ”
รูปแบบ/วิธีการ ในการสื่อสารในการปฏิบัติการพยาบาล
ใช้กระบวนการ SMCR ของ Berlo Model
S
SENDER ผู้ส่งสารที่มีประสิทธิภาพและจะทำให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล ควรมีคุณสมบัติ ดังนี้
Skill : Communication Skills มีทักษะในการส่งสาร สามารถใช้ภาษาพูดที่ชัดเจน ถูกต้อง ฟังง่าย เป็นจังหวะน่าฟัง
Encode : มีความสามารถในการเข้ารหัสเนื้อหาข่าวสาร
Naturalize : สามารถปรับกระบวนการสื่อสารให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้ เข้าใจระบบสังคมและขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมของผู้รับสาร ข้อบังคับทางศาสนา ประเพณีท้องถิ่นที่ยึดถือปฏิบัติ
Drill : การฝึกฝน การสื่อสารที่ดีและมีประสิทธิภาพไม่ใช่เป็นเรื่องของพรสวรรค์ แต่สามารถฝึกฝนได้
Resolve : สามารถวิเคราะห์หรือตัดสินใจในเรื่องที่สื่อสารได้ ดังนั้นต้องมีความรู้อย่างดีในข้อมูลข่าวสาร มีเทคนิคในการปรับระดับของข้อมูลนั้นให้เหมาะสมและง่ายต่อระดับความรู้ของผู้รับ
Expand : ให้ข้อมูล รายละเอียด ด้วยความเบิกบานใจ มีจิตใจเต็มใจต้องการจะสื่อสารที่ดี มีทัศนคติและเจตนาที่ดีต่อผู้รับสาร
M
MESSAGE ข้อมูล เนื้อหาสาระที่ต้องการจะสื่อสาร ควรผ่านการปรับระดับความยากง่ายของภาษาหรือถ้อยคำที่จะใช้ให้เหมาะสม สอดคล้องกับผู้รับสาร พยายามหลีกเลี่ยงการเลือกใช้คำศัพท์เฉพาะทางวิชาการ ภาษาต่างประเทศ หรือถ้อยคำยาวๆ สำนวนที่สลับซับซ้อน เนื้อหาอาจไม่เหมือนกันในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย แต่ต้องชัดเจนในประเด็นและเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ
C
CHANNEL สื่อหรือช่องทางในการสื่อสาร ปัจจุบันมีจำนวนหลากหลายช่องทาง ผู้ส่งสารหากต้องการให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผลก็จำเป็นต้องวิเคราะห์และวางแผนในการใช้ช่องทางการสื่อสารให้เหมาะสมกับปัจจัยต่างๆ
R
RECEIVER ผู้รับสารมีวิธีการเลือกรับข่าวสาร (Selective attention) ตามแนวคิดทางจิตวิทยา
ตัวอย่าง Dialouge บทสนทนาตอบโต้กันในสถานการณ์สมมุติ
การเตรียมตัวก่อนการผ่าตัด
การซักประวัติผู้ป่วยอายุ 20 เดินกระมิด กระเมี้ยน มาหาหมอ
คนไข้ : หมอครับ ผมปัสสาวะแล้วแสบจังเลยครับ
หมอ : ปัสสาวะแสบมากี่วันแล้วครับ
คนไข้ : ผมปัสสาวะแสบมา 2-3 วันแล้วครับ แล้วมีหนองไหลเปื้อนกางเกงในด้วย
หมอ : อะไรที่ทำให้คุณเกิดอาการอย่างนี้ครับ
คนไข้ : ผมคิดว่า ส้วมสาธารณที่ผมเข้าไปฉี่สกปรก ครับ
หมอ : คุณไม่ติดโรคอย่างนี้จากส้วมหรอกครับ ถามจริงๆนะครับ คุณไปนอนกับผู้หญิงมาก่อนเกิดอาการใช่ไหม
คนไข้ : ครับ ครับ! แต่เพื่อนเขารับรองว่าผู้หญิงคนนี้ไม่ใช่ผู้หญิงหากินนี่ครับ โธ! ผมไม่น่าเชื่อเขาเลยผมเพิ่งพาผู้หญิงที่เขาแนะนำไปนอนด้วยกันเมื่อ 2 วันก่อนเท่านั้น
หมอ : ประวัติแบบนี้ค่อนข้างชัดเจนแล้วนะครับว่าน่าจะเป็นโรคหนองในมากกว่าอย่างอื่น เพราะคนไข้มีอาการปัสสาวะแสบ มีหนองไหล หลังจากหลับนอนกับผู้หญิงคนหนึ่ง 2 วัน ถ้าจะให้ดีก็ควรเอาหนองนั้นมาตรวจ ย้อมสีแกรม ดูด้วยกล้องจุลทรรศน์
การปฏบัติตัวเพื่อควบคุมน้ำตาลในเลือด
คนไข้ : ช่วงนี้ระดับน้ำตาลให้เลือดของดิฉันเพิ่มขึ้นเกินกว่าปกติมากเลยค่ะ อยากจะขอวิธีควบคุมระดับน้ำตาลจากคุณพยาบาลได้ไหมคะ
พยาบาล : ยินดีมากเลยค่ะ
มีวิธีหลักอยู่3วิธีด้วยกันนะคะ
1.ควบคุมอาหาร เลือกรับประทานประเภทคาร์โบไฮเดรตเป็นหลัก รับประทานอาหารเป็นมื้อเล็กๆ หลายๆ มื้อแทนมื้อใหญ่ครั้งเดียว
2.การออกกำลังกาย จะช่วยให้ภาวะดื้อต่ออินซูลินลดลง และนำเอาน้ำตาลไปใช้ได้มาก
3.การใช้ยาควบคุมระดับน้ำตาล รับประทานยาให้สม่ำเสมอตามคำแนะนำของแพทย์ หากควบคุมด้วยยาเม็ดไม่ได้ผล จะต้องใช้ยาฉีดอินซูลิน
การตรวจร่างกาย
คนไข้ : สวัสดีค่ะคุณหมอ
หมอ : สวัสดีครับ เป็นอะไรมาครับ
คนไข้ : ฉันมีอาการไอมาตลอดตั้งแต่สัปดาห์ที่แล้วค่ะ
หมอ : แล้วมีอาการอย่างอื่นอีกไหมครับ
คนไข้ : มีอาการปวดหัวและเป็นไข้อีกด้วยค่ะ
หมอ : รู้สึกอาการอย่างนี้มานานแค่ไหนแล้วครับ
คนไข้ : 2 วันแล้วค่ะ
หมอ : ครับ คุณต้องเข้ารับการตรวจวินิจฉัย
ฉายรังสีเอ็กซ์ ตรวจปัสสาวะ และตรวจเลือดนะครับ เจ้าหน้าที่เทคนิคการแพทย์และพยาบาลจะดูแลคุณ หลังจากได้รับผลแล้วผมจะตรวจคุณอีกครั้งนะครับ
สถานการณ์ให้กำลังใจผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานในโรงพยาบาลที่มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับสภานการณ์โควิด-19
หมอ : สวัสดีครับ วันนี้อาการเป็นอย่างไรบ้างครับ
คนไข้ : คงที่ค่ะคุณหมอ ระดับน้ำตาลก็ปกติดี แต่ที่ดิฉันเป็นกังวลตอนนี้ก็คงจะเป็นโควิด-19
หมอ : ไม่ต้องกังวลไปนะครับถ้าเรารู้วีธีการรับมือกับมันเราก็จะผ่านไปได้
คนไข้ : มีวิธีไหนบ้างคะคุณหมอ
หมอ : อย่างแรกเลยนะครับอย่าทำให้สถานการณ์เลวร้ายลง ความเครยดอาจจะทำให้เกิดภาวะท้อถอย เช่น การทำร้ายตัวเอง
ปฏิบัติตามคำแนะนำจากกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อนช้อนกลาง ล้างมือ สวมหน้ากากอนามัย หลีกเลี่ยงการสัมผัส
ตรวจสอบอาการทางร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ของตัวเองสม่ำเสมอ เฝ้าระวังอาการ
ใช้ชีวิตอย่างปกติและมีคุณค่า แม้อยู่ในสถานการณ์ที่ไม่ปกติ เราก็จำเป็นต้องดำเนินชีวิตให้เป็นปกติ แม้จะต้องหยุดงานกักตัวอยู่บ้าน 14 วันก็สามารถจัดการกิจวัตรแต่ละวันให้มีสุขภาพดี
คนไข้ : สวัสดีค่ะคุณหมอ
หมอ : สวัสดีครับ เป็นอย่างไรบ้างครับเดือนหน้าพร้อมสำหรับการผ่าตัดหรือยัง
คนไข้ : พร้อมแล้วค่ะ แต่ก็แอบเป็นกังวลและกลัวอยู่บ้างค่ะ
หมอ : ไม่ต้องกังวลหรือกลัวไปนะครับ วันนี้ที่หมอนัดมาก็เพื่อจะให้ข้อมูลการเตรียมตัวก่อนที่จะได้รับการผ่าตัด เพื่อจะให้คนได้ได้เตรียมตัวอย่างดีและลดความกังวลให้น้อยลง
คนไข้ : ค่ะคุณหมอ ดิฉันจะรับฟังและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดเลยค่ะ
หมอ : การเตรียมตัวก่อนผ่าตัดมีวิธีดังนี้นะครับ
1.ต้องบอกแพทย์ว่าเป็นโรคอะไรที่กำลังรักษาอยู่ รับประทานยาอะไรเป็นประจำ เช่น เบาหวาน เคยแพ้ยาอะไรบ้าง แพ้แล้วมีอาการเป็นอย่างไร
2.เคยผ่าตัดมาก่อนหรือเปล่า ผ่าตัดอะไร ใช้ยาชาหรือยาสลบ มีแผลแทรกซ้อนอะไร
3.ถ้าเคยดื่มเหล้าหรือสูบบุหรี่ ควรงดก่อนอย่างน้อย 2 สัปดาห์ หรือ 1 เดือน เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากปอด
4.ควรจะปล่อยวางเรื่องงานบางอย่างให้ลดลงช่วงก่อนและหลังผ่าตัด รักษาสุขภาพทั้งเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายและการพักผ่อนตามสมควร
5.ถ้าเป็นการผ่าตัดใหญ่และอาจต้องเสียเลือด ให้เลือดเตรียมไว้เผื่อจำเป็นต้องได้รับเลือดทดแทนที่เสียไปจากการผ่าตัด
6.ระหว่างวันใกล้ผ่าตัดหรือก่อนผ่าตัด ถ้าไม่สบายด้วยเรื่องอะไรแม้เพียงเล็กน้อย เช่น เป็นหวัด มีผื่นคัน ควรบอกกับแพทย์
ลักษณะการสื่อสารที่ดีในการสื่อสารของพยาบาล
1.มีความน่าเชื่อถือ คือ มีความรู้และประสบการณ์ บุคลิกภาพของผู้ส่งสาร ความถูกต้องหน้าเชื่อถือของสาร
มีความชัดเจน คือ การใช้ภาษาที่ง่ายต่อความเข้าใจ และเนื้อหาสามารถบอกได้ชัดเจนไม่คลุมเครือ จนำให้ตีความหมายได้หลายทาง
3.มีความสามารถ ความรู้และทักษะในกระบวนการสื่อสาร คือการพิจารณา ความสามารถของผู้รับสารมีประเด็นที่ต้องคำนึงถึงหลายด้าน
4.เนื้อหาสาระ คือความเหมาะสมของเนื้อหามีความสอดคล้องกับความคิดค่านิยม ผู้รับสารควรจะมีสาระหรือคุณค่าควรแก่การสื่อสาร สาระตรงกับความสนใจหรือประโยชน์ของผู้ที่เราจะสื่อสารด้วย
5.ความเหมาะสมกับกาลเทศะ คือ การสื่สารที่ดีต้องกลมกลืนไปด้วยกันได้กับวัฒนธรรม ของสังคมเหมาะสมกับสิ่งแวดล้อม บุคคล เวลา และสถานที่ กิริยาท่าทางต่อบุคคล
6.ช่องทางในการสื่อสาร คือ หลักสำคัญประกอบด้วยการพิจารณาสิ่งแวดล้อมหลายๆด้าน เช่นต้องการสื่อสารกับกลุ่มใด ด้วยวัตถุประสงค์อะไร ในสิ่งแวดล้อมอย่างไร
7.ความต่อเนื่องและการกล่าวซ้ำ คือพฤติกรรมการสื่อสารประเภทโน้มน้าวชักจูงใจ อาศัยการเสนอสารที่ต่อเนื่อง การสื่อสารที่สม่ำเสมอช่วยรักษาและกระชับสัมพันธภาพระหว่างบุคคล