Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มดลูกปลิ้น Uterine inversion, image, image - Coggle Diagram
มดลูกปลิ้น
Uterine inversion
พยาธิสภาพ
เมื่อเกิดการปลิ้นของดลูกภายหลังทารกคลอดหรือภายหลังรกคลอดแล้ว ปากมดลูกและมดลูกส่วนล่างจะมีการหดรัดตัว เป็นวงแหวนล้อมรอบส่วนของมดลูกที่หย่อนตัวลงมาทำให้บริเวณที่ถูกรัดไว้นั้นขาดเลือดไปเลี้ยง เกิดการบวมและมีเนื้อตายในที่สุดเนื้อตายนั้นจะหลุดออกมา
การพยาบาล
ระยะคลอด
รายงานแพทย์เพื่อแก้ไขมดลูกปริ้นอย่างเร่งด่วนโดย
หากแก้ไขข้างต้นไม่สำเร็จ ให้กระทำซ้ำภายใต้การดมยาสลบ โดยใช้ Halothane
เพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อมดลูกคลายตัวง่ายต่อการกลับมดลูกขึ้นไป
ทำความสะอาดมลลูกส่วนที่ปลิ้นให้ทั่วด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
(Antiseptic solution)
ให้ยาบรรเทาปวดและ prophylactic antibiotic
ดูแลให้สารละลายทางหลอดเลือดำ เพื่อป้องกันการเกิด Hypovolemic shock
ห้ามให้ Oxytocin drug จนกว่ามดลูกปลิ้นจะได้รับการรักษา
ประเมินสภาพการเกิดมดลูกปลิ้นอย่างรวดเร็ว
ทำคลอดอย่างระมัดระวัง และถูกวิธี
ดมยาสลบใช้ถุงมือปราศจากเชื้อดันมดลูกกลับขึ้นไป
มดลูกส่วนที่ปลิ้นออกมานอกสุดต้องถูกผลักกลับเข้าไปก่อน(หน้าที่แพทย์)
ระยะหลังคลอด
ประเมินความปวดและให้ยาตามแผนการรักษา
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
กรณีมดลูกหดรัดตัวไม่ดีดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
ประเมิน V/S เพื่อประเมิน สัญญาณชีพ ดูว่ามีความผิดปกติหรือไม่
ดูแลการหายใจและให้ออกซิเจน
เฝ้าระวังภาวะตกเลือด
อาการอาการแสดง
ยอดมดลูกเป็นแอ่งคล้ายภูเขาไฟ หรือไม่พบยอดมดลูก
ปวดท้องอย่างรุนแรง ช็อก ตกเลือดทางช่องคลอด
มีตกขาว
เลือดออกกระปริบกระปรอย
ถ่ายปัสสาวะขัดหรือถ่วงที่ช่องคลอด
ชนิด
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์ (complete inversion)
มดลูกปลิ้นโดยส่วนที่ปลิ้นพ้นปากมดลูก
มดลูกปลิ้นแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete inversion)
มดลูกปลิ้นโดยส่วนที่ปลิ้นยังไม่พ้นปากมดลูก
การรักษา
ผ่าตัดเปิดหน้าท้องเพื่อตัดมดลูก(ในรายที่เป็นมดลูกปลิ้นแบบเรื้อรัง)
ใส่มดลูกกลับคืนกรณีมดลูกปลิ้น (manual replacement of uterine inversion)
อ้างอิง
เพ็ชรัตน์ เตชาทวีวรรณ. (2560).
การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์
. สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2563 จาก
http://www.elnurse.ssru.ac.th/petcharat_te/pluginfile.php/62/block_html/content/2282560%29.pdf
เฟื่องลดา ทองประเสริฐ.(2553).
Postpartum Hemorrhage
. สืนค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2563. จาก
https://w1.med.cmu.ac.th/obgyn/index.php?option=com_content&view=article&id=258:postpartum-hemorrhage&catid=39&Itemid=360ง
ศศิธร เจริญวุฒิพงศ์. (2553).
ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ : การป้องกันการตกเลือดหลังคลอดในระยะที่สามของการคลอด.
สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2563. จาก
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/journalthaicvtnurse/article/view/8521/7273
.
เพ็ชรัตน์ เตชาทวีวรรณ. (2557).
การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน
. สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2563 จาก
http://www.elnurse.ssru.ac.th/petcharat_te/pluginfile.php/62(23082557).pdf
สุภาพ ไทยแท้. (2555). การพยาบาลสูติศาสตร์:ภาวะผิดปกติในระยะคลอด. กรุงเทพฯ: วีพริ้นท์.
สาเหตุ
การทำคลอดรกไม่ถูกวิธี
การเพิ่มแรงดันภายในช่องท้องอย่างรวดเร็วและรุนแรง
มีพยาธิสภาพที่มดลูก
ความหมาย
คือ ภาวะที่มดลูกปลิ้นตลบเอาผนังด้านในออกมาอยู่ด้านนอก
ลำโผล่ออกมาทางช่องคลอด
การวินิจฉัย
ครวจภายในโดยการ Pelvix examination (PV)
คลำได้ก้อนเนื้อบริเวณปากมดลูก ช่องคลอดคลอด
พบก้อนมดลูกโผล่ออกมานอกช่องคลอด
ตรวจร่างกาย
พบยอดมดลูกเป็นแอ่งคล้ายภูเขาไฟ
บริเวณ fundus จะไม่พบยอดมดลูก