Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
ผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
-
กระดูกหักและข้อเคลื่อน
สาเหตุ
- มักเกิดจากอุบัติเหตุรุนแรงนำมาก่อนโดยกระแทกกระดูกโดยตรง
อาการและอาการแสดง
- มีอาการปวดและกดเจ็บ
- บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณกระดูกหัก
- รอยจ่ำเขียว
- อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การประเมินสภาพ
- การซักประวัติ
- การตรวจร่างกาย
- ตรวจทางรังสี
การรักษา
- ไม้ดาม
- ผ้าพัน (Elastic Bandage)
กระดูกหักที่พบบ่อย
-
2. กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
- อาจเกิดจากการล้มและกระแทกโดยตรง จะพบไหล่หัวไหล่บวม ซ้ำ เวลาจับไหล่ ในรายท่กระดูกเคลื่อนหักออกจากกันมากๆควรจะตรึงแขนด้วย traction ประมาณ 3wk
3.กระดูกข้อศอกหัก (Supracondylar fracture)
- พบบ่อยในเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย เกิดจากการหกล้ม และอาจมีโรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น " Volkman's ischemic contrarure''
4.การเคลื่อนของกระดูกเรเดียส
- หัวของกระดูก Radius ออกมาจาก Radius - humeral ไม่หมดเกิดจากการดึงแขนหรือหิ้วแขนเด็กมาตรงๆ
-
-
การพยาบาลต่างๆ
- เด็กที่ได้รับบาดเจ็บของกระดูกและข้อ ส่วนมากเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุ โดยพิจารณาระบบ ABCDEF
-
2.การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดเคลื่อนไหว
- 1.กระตุ้นให้เด็กมีการออกกำลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
- 2.มีการพลิกตะแคงตัวทุกๆ 2hr เพื่อป้องกัน bed sore
- 3.ให้เด้กมีเคลื่อนไหว จัดอาหารที่มีกากใย เพื่อป้องกันภาวะ Contipation
- 4.ช่วยให้ปอดมีขยายตัวด้วยการกระตุ้นให้เด็กหายใจเข้าลึกๆแรงๆหลายครั้ง
- 5.ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งขี้ถึงภาวะแทรกซ้อน
3.ป้องกันการติดเชื้อที่กระดูกเนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
- 1.ทำความสะอาดแผลก่อนเข้าเฝือก
- 2.ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อจาก ลักษณะแผล DISCHARE อาการบวมแดง
- 3.ดูแลให้ได้รับยา ATB ตามแผนการรักษา
- 4.ดูแลให้ได้รับสารอาหารที่ช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
4.การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการปวด
- ประเมินระดับความเจ็บปวดของผู้ป่วย
- จัดท่าผู้ป่วยให้อยูในท่าที่ถูกต้อง
- ตรวจดูว่าเฝือกพันแน่นเกินไปหรือเปล่า
- ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
5.การพยาบาลเพื่อให้คำแนะนำในการปฎิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
- ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำหรือสกปรก
- ห้ามผู้ป่วยญาติและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออก
- เมื่อมีไข้สูง , เฝือกมีกลิ่นเหม็น , ปลายมือปลายเท้าชา ให้รีบมาพบแพทย์ทันที
- ควรรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อส่งเสริมให้แผลหายเร็วขึ้น
โรคคอเอียงตั้งแต่กำเนิด
- เป้้็นการที่ศีรษะเอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่งจากกล้ามเนื้อด้านข้างจอ Sternocleidomastoid หดลั้นลง
อาการ
- คลำพบก้อนที่ด้านหลังคอ และจะค่อยๆยุบลงไป
การวินิจฉัย
- ตรวจร่างกาย
- ลักษณะของผู้ป่วย
- ซักประวัติ
- ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
- passive patch
- จัดท่านอนให้นอนหงายจัดให้หูข้างตรงๆข้ามสัมผัสกับไหล่ข้างเดียวกัน
- active patch
- เป็นการให้เด็กหันคอเอียงข้างที่สั้น เช่น การให้นม การใช้ของเล่นหลอกล่อ จัดท่านอนขณะหลับ
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
- เป็นการเจริญเติบโตของกระดูสันหลัง ไม่เท่ากันทั้งสองข้าง ทำให้ข้อคอดงอ ยาวไม่เท่ากัน
การวินิจฉัย
- การซักประวัติ
- การตรวจร่างกาย
- การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
อาการแสดง
- กระดูกสันหลังคดไปด้านข้าง กระดูกสะบักไม่เท่ากัน
- ทรวกอกเคลื่อนไหวจำกัด
- กล้ามเนื้อและเอ็นเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออกจะฝ่อลีบและบาง
- ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่เท่ากัน
การรักษา
- แบบอนุรักษ์นิยม
- การผ่าตัด
-
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะหลังคด
- ให้ความรู้ก่อนและหลังผ่าตัด
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
อธิบายการพลิกตัวโดยให้ไหล่และสะโพกพลิกไปพร้อมกัน (Logrolling)
แนะนำให้รายงานอาการผิดปกติต่างๆที่อาจเกิดหลังผ่าตัด
สอนและสาธิตวิธีการไออย่างมีประวิทธิภาพ
แนะนำการใช้หม้อนอน การับประทานอาหารบนเตียง
- ดูแลความไม่สุขสบายจากการปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลังคด โดยสังเกตและประเมินความปวด ไก้แก่ ชนิด ตำแหน่ง ความรุนแรง ระยะเวลาปวด อาการแสดงออก
- ป้องกันการติดเชื้อและการเกิดแผลกดทับ
- แนะนำการปฎิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว โดนต้องมีเสื้อรองก่อนเพื่อป้องกันการกดทับของผิวหนัง