Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการบำบัดโดยหัตถการ, นางสาวโศภิษฐา ทยาพัชร รุ่น 35 เลขที่ 61 - Coggle…
สรุปการบำบัดโดยหัตถการ
การเย็บแผล
การเย็บแผล เป็นหัตถการที่อยู่ในขอบเขต ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ สามารถปฏิบัติได้ โดยก่อนปฏิบัติหัตถการใด ๆ ควรมีการประเมินเสียก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อท่านต้องพบผู้ป่วยที่มีบาดแผลมา และจะต้องลงความเห็นว่า ควรเย็บหรือไม่ควรเย็บ
ลักษณะการเย็บแผล
- เย็บแผลโดยใช้ไหมผูกเป็นปมแยกเป็นอัน ๆ (interupted) ได้แก่
-
-
- เย็บแผลโดยใช้ไหมต่อเนื่อง (continuous interupted) โดยผูกปมเฉพาะเข็มแรกและเข็ม สุดท้ายมี 3 วิธีคือ
-
-
-
-
-
-
-
-
วิธีตัดไหม
- ทำความสะอาดบาดแผล โดยใช้แอลกอฮอล์เช็ดรอบแผล
- การตัดไหมที่เย็บแผลโดยใช้ไหมผูกเป็นปมแยกเป็นอัน ๆ โดยใช้ปากคีบไม่มีเขี้ยวจับชายไหมส่วนที่อยู่เหนือปมที่ผูกไว้ ดึงขึ้นพอตึงมือจะเห็นใต้ปมโผล่พ้นผิวหนังขึ้นมา 2 เส้นและใช้สอดปลายกรรไกรสำหรับตัดไหมในแนวราบขนานกับผิวหนังเล็มตัดไหมส่วนที่อยู่ชิด ผิวหนังซึ่งอยู่ใต้ปมที่ผูกแล้วดึงไหม
- การตัดไหมที่เย็บแผลโดยใช้ไหมผูกเป็นปมเป็นอัน ๆ ชนิดสองชั้น ให้ตัดไหมส่วนที่มองเห็นและอยู่ชิดผิวหนังมากที่สุด ซึ่งอยู่ด้านตรงกันข้ามกับปมไหมให้ตัดไหมด้วยวิธีเดียวกับการเย็บธรรมดา
- การตัดไหมที่เย็บแผลแบบต่อเนื่อง ให้ตัดไหมส่วนที่อยู่ชิดผิวหนังด้านตรงกันข้ามกับปมที่ผูกอันแรกและอันถัดไปด้านเดิม
-
ขั้นตอนการเย็บแผล
-
-
3.การจับเข็ม ถ้าเป็นเข็มเย็บผ้าหรือเข็มตรงใช้มือจับเย็บ แต่ถ้าเป็นเข็มโค้ง ต้องใช้คีมจับเข็มที่ประมาณ 1/3 ค่อนมาทางโคนเข็มสนด้ายที่จะใช้เย็บเข้าที่รูเข็ม ตัดด้ายให้เหลือความยาวประมาณ 1 คืบ
-
5.เวลาตักควรปักเข็มลงไปตรงๆให้ตั้งฉากกับผิวหนัง หรือเนื้อที่จะเย็บ และการปักเข็มควรปักให้ห่างจากขอบแผลพอสมควร
6.หมุนเข็มให้ปลายเข็มเสยขึ้น โดยใช้ข้อมือ อย่าดันไปตรงๆ ให้ปล่อยคีมจากโคนเข็มมาจับปลายที่โผล่พ้นผิวหนังอีกด้านหนึ่งของแผลขึ้นมา แล้วค่อยๆหมุนเข็มตามความโค้งของเข็ม จนกระทั้งโคนเข็มหลุดจากผิวหนัง
7.ใช้มือซ้ายจับโคนเชือกไว้ มือขวาถือคีมจับเข็มรูดออกไปจนเข็มหลุดจากเชือกแล้ววางคีมมาจับปลายเชือกอีกด้านหนึ่ง พร้อมกับดึงขอบแผลให้มาติดกันแล้วผูกเงื่อนตาย
-
การถอดเล็บ
เครื่องมือ อุปกรณ์
-
-
Artery clamp โค้งเล็ก , Artery clamp ตรง
ผ้า Gauze, Vaseline Gauze
-
-
-
-
-
การถอดเล็บ หมายถึง การผ่าตัดทางการแพทย์ โดยใช้เครืองมือและอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อ ถอดเล็บมือหรือเล็บเท้าที่ผิดปกติออกมา ปัญหาส่วนใหญ่ที่ทําให้ต้องทําการถอดเล็บ ได้แก่ การเกิดเล็บขบ เล็บฉีกขาด หรือเล็บบางส่วนหลุดออกจากเนื้อเยื่อฐานเล็บ การถอดเล็บเป็นการเปิดโอกาสให้เล็บมือหรือเล็บเท้างอกขึ้นมาใหม่ตามกระบวนการทางธรรมชาติ ซึ่งเล็บมักใช้เวลาหลายสัปดาห์ในการงอกขึ้นมาใหม่แต่ในกระบวนการงอกใหม่ของเล็บไม่ทําให้เกิดความเจ็บปวดแต่อย่างใด
ขั้นตอนการถอดเล็บ
-
จัดท่าผู้ป่วย จากนั้นให้สารละลายโพวิโดน ไอโอดีน หรือยาชา เพื่อระงับความรู้สึกเจ็บปวดบริเวณนิ้วที่จะถูกถอดเล็บ
-
-
-
หากเนื้อเยื่อบริเวณใต้เล็บเสียหายมาก แพทย์อาจใช้เครื่องมือจี้ด้วยไฟฟ้า เพื่อกําจัดเนื้อเยื่อ แล้วเช็ดออกด้วยผ้าก๊อซ
หลังจากนั้น อาจทายาปฏิชีวนะในรูปครีมขี้ผึ้งเพื่อป้องกันการติดเชื้อ แล้วพันด้วยผ้าพันแผลที่สะอาดปลอดเชื้อ
-
หลังพักฟื้นขณะถอดเล็บ
- ควรเปลี่ยนผ้าพันแผลทุกวันเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
- ผู้ป่วยต้องกลับมาให้แพทย์ล้างแผลภายใน 1 สัปดาห์
- ระมัดระวังไม่ให้บาดแผลได้รับการกระทบกระเทือน เปียกชื้น สกปรก หรือติดเชื้อ
- ยกมือหรือเท้าที่ถอดเล็บออกให้อยู่สูงกว่าหัวใจเสมอในช่วง 24 ชั่วโมงแรกหลังการถอดเล็บ
- ประคบเย็นรอบ ๆ บาดแผลเป็นเวลา 15-20 นาที ทุก ๆ ชั่วโมง เพื่อช่วยลดอาการบวมบรรเทาความเจ็บปวด
- ไม่สวมรองเท้าที่คับแน่นจนเกินไป
- หากมีอาการต่อไป เช่น มีเลือดไหลออกมาก มีเส้นสีแดงเป็นจ้ำตามแขนหรือขา มีไข้ หนาวสัน แผลบวมแดง หรือมีหนองไหลออกมา ควรรีบไปพบแพทย์
-
การดูแลดามกระดูก
-
-
-
-
-
การปฐมพยาบาล
-
-
-ในกรณีที่เข้าช่วยเหลือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจนผิวหนังเปิดออกและมีอุปกรณ์การแพทย์ไม่เพียงพอ ควรรินน้ำสะอาดล้างแผลและปิดแผลด้วยผ้าสะอาดให้เรียบร้อยเพื่อป้องกันการติดเชื้อ ไม่ควรเป่าแผลหรือถูขยี้แผลแรง
-ควรให้ผู้ป่วยนอนราบ ยกขาให้ขึ้นสูงกว่าศีรษะประมาณ 30 เซนติเมตร และห่มด้วยผ้าห่ม เพื่อป้องกันผู้ป่วยเกิดอาการช็อค อย่างไรก็ตาม หากผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ คอ หรือ หลัง ไม่ควรเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเด็ดขาด
-ห้ามเลือดผู้ป่วย โดยใช้ผ้าขนหนูแห้งสะอาดวางปิดแผล หากเลือดยังไม่หยุดไหล ให้กดห้ามเลือดไปตรงบริเวณที่เลือดไหลออกมา
-ประเมินการไหลเวียนเลือดของผู้ป่วย โดยกดเบา ๆ เหนือบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ เช่น ผู้ป่วยเกิดกระดูกหักที่ขา ควรกดที่เท้าเพื่อดูการไหลเวียนเลือด เมื่อกดลงไปบริเวณดังกล่าวจะขาวซีดและค่อย ๆ แดงเลือดฝาดขึ้นมา ทั้งนี้หากเลือดไหลเวียนไปเลี้ยงไม่พอ ผู้ป่วยจะตัวซีด เขียว เกิดอาการชา และสัญญาณชีพอ่อนลง ควรจัดแขนและขาผู้ป่วยให้อยู่ในท่าพักที่สบาย เพื่อลดอาการบวม ปวด และเนื้อเยื่อตายจากการขาดเลือด
-ตรวจดูว่าผู้ป่วยหายใจอยู่หรือไม่ โทรเรียกรถพยาบาล และปฐมพยาบาลด้วยวิธีCPRร และพยายามทำให้ผู้ป่วยมีสติ
การดามกระดูก
-กระดูกแขนและไหปลาร้าหัก => ใช้ผ้าคล้องแขนแล้วผูกกับคอใช้ผ้าอีกผืนพันรัดแขนข้างที่หักให้ติดกับลำตัว กระดูกแขนหักบริเวณข้อศอกอาจจะหักตอน ปลายของกระดูกต้นแขนหรือส่วนบนของกระดูกปลายแขนอย่าพยายามงอแขน เพื่อคล้องแขนให้ดามแขนในลักษณะตรง
-กระดูกขาท่อนล่างหัก => ควรดามโดยใช้เผือก 2 อันยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงเหนือเข่าและใช้ผ้าผูก ติดกันเป็นเปลาะๆ ใช้ผ้าหนาๆสอดระหว่างขาทั้ง 2 ข้างแล้วผูกติดกันเป็นเปลาะๆ ข้อควรระวังควรให้ปลายเท้าตั้งฉากเสมอและคอยตรวจดูว่าผ้าที่มัดไว้แน่นเกินไป จนเลือดไหลไม่สะดวกหรือไม่และพยายามอย่าเคลื่อนไหวส่วนที่รัด
-กระดูกปลายแขนหัก => ใช้ไม้แผ่นแบนๆหรือหนังสือพิมพ์พับหนาๆให้มีความยาว ตั้งแต่ปลายนิ้วถึงข้อศอกใช้เป็นเฝือกแล้วพันด้วยเชือกหรือผ้ายืดให้ กระชับใช้ผ้าคล้องคอห้อยแขนข้างที่หักไว้
-กระดูกต้นขาหัก => ใช้เผือก 2 ชิ้น โดยชิ้นหนึ่งยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงใต้รักแร้อีกชิ้น ยาวตั้งแต่ส้นเท้าถึงโคนขาแล้วใช้ผ้าผูกเฝือกทั้ง 2 ให้ติดกับขาข้างที่หัก ถ้าไม่มีเฝือกให้ผูกขาทั้ง 2 ข้างติดกันถ้ามีบาดแผลหรือกระดูกโผล่อย่า พยายามล้างทำความสะอาดถ้ามีเลือดออกใช้ผ้าปิดแผลห้ามเลือดก่อน
-กระดูกเชิงกรานหัก =>ใช้วิธีผูกขาทั้ง 2 ข้างติดกันโดยสอดผ้าสามเหลี่ยมพับกว้างๆ 2 ข้างไว้ ใต้ตะโพกและเชิงกรานผูกปมตรงกลางลำตัววางผ้านุ่มๆระหว่างขาทั้ง 2 ข้าง บริเวณเข่าและข้อเท้าแล้วผูกติดกันด้วยผ้าสามเหลี่ยมพับผูกเป็นเลข 8 และผูกผ้า รอบเข่าทั้ง 2 ข้าง
-กระดูกสันหลังหัก => จะมีอันตรายร้ายแรงกว่ากระดูกสันหลังส่วนล่างหักดังนั้น การเคลื่อนย้ายต้องทำด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษเพราะส่วนที่หัก อาจจะไปกดหรือบาดไขสันหลังให้ขาดได้ ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิต หรือไม่ก็เป็นอัมพาตไม่แนะนำให้ทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเองควร แจ้งขอความช่วยเหลือจากหน่วยแพทย์
-
-