Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปกลุ่มอาการ Shock , Burn
และพิษจากแมลงสัตว์กัดต่อย, นางสาวโศภิษฐา…
สรุปกลุ่มอาการ Shock , Burn
และพิษจากแมลงสัตว์กัดต่อย
Shock
นิยาม
ภาวะที่ร่างกายหรือเนื้อเย่ื่อต่างๆได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอทำให้เกิดความไม่สมดุลระหว่างความต้องการ และปริมาณออกซิเจนที่เลือดนำไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ
สาเหตุ
-
Distributive shock : septic shock , anaphylaxis shock ,
neurogenic shock
-
Obstructive shock : cardiac tamponade , tension pneumothorax , pulmonary embolism , AS
-
ซักประวัติ
การสูญเสียเลือด (ถ่ายเลือด ถ่ายดำ หรืออาเจียนเป็นเลือด) หรือการสูญเสียน้ำจากการถ่ายเหลว นึกถึง hypovolemic shock
-
-
-
-
-
-
Burn
นิยาม
ผิวหนัง หรือเนื้อเยื่อที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรวิทยาจากการถูกเผาไหม้ หรือการได้รับ ความร้อนจากเปลวไฟ กระแสไฟฟ้า รังสี สารเคมี
-
การตรวจร่างกาย
-
ประเมินบริเวณที่ไหม้และบริเวณที่ไม่ไหม้อย่างรวดเร็วโดยใช้กฎเลข 9 (rules of nine) ในผู้ใหญ่ หรือวิธีของ Lund and Browder ในเด็ก
-
-
-
-
-
-
พิษจากแมลงสัตว์กัดต่อย
งูกัด(Snake bite)
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
-
งูไม่มีพิษ เช่น งูแม่ตะง่าว งูปล้องฉนวนหลังเหลือง งูเห่ามังหรืองูแส้ม้า งูดอกหมากแดง งูทางมะพร้าว (งูปล้องไฟ) งูเหลือม งูหลาม งูปากจิ้งจก งูลายสาบ งูลายสอ งูก้นกบ งูงอด งูปี่แก้ว งูแสงอาทิตย์
-
การรักษา
-
• ให้การรักษาตามอาการ เช่น ประคบเย็น รับประทานยาแก้ปวด ยาปฏิชีวนะป้องกันการติดเชื้อ ( เช่น dicloxacillin หรือ amoxicillin ) นาน 5-10 วัน แล้วแต่ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของบาดแผล
-
• สังเกตอาการ และนัดตรวจซ้ำเพื่อติดตามการรักษา *หมายเหตุ ถ้าไม่ทราบชนิดของงูให้การดูแลรักษา เหมือนงูพิษกัด
การรักษา
ในกรณีที่งูไม่มีพิษกัด
-
• ให้การรักษาตามอาการ เช่น ประคบเย็น รับประทานยาแก้ปวด ยาปฏิชีวนะป้องกันการติดเชื้อ ( เช่น dicloxacillin หรือ amoxicillin ) นาน 5-10 วัน แล้วแต่ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของบาดแผล
-
-
-
ในกรณีที่ถูกงูมีพิษกัด
-
-
- ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
- ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทำงานให้ทำการช่วยฟื้นคืนชีพ ( cardiopulmonary resuscitation)
- ตรวจดูบาดแผล และรอยเขี้ยวพิษ
- ถ้าเป็นงูเห่าพ่นพิษถูกที่ใบหน้าหรือนัยน์ตา ให้ล้างด้วยน้ำสะอาดจำนวนมากๆ
-
- ให้งดน้ำและอาหารไว้ก่อน แต่ถ้าเป็นงูทะเล ต้องดื่มน้ำมากๆ เพื่อขับปัสสาวะและพิษงู
- พยายามเคลื่อนไหวร่างกายให้น้อยที่สุดโดยเฉพาะบริเวณที่ถูกกัด
- อธิบายให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลหรือตกใจเพื่อหลีกเลี่ยงอาการหัวใจเต้นเร็วขึ้น เป็นการช่วยให้พิษเข้าสู่กระแสเลือดช้าลง
-
-
- ส่งต่อไปสถานพยาบาลที่มีความพร้อม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
ตรวจหาระดับ serum potassium SGOT SGPT CPK จะสูง ถ้าได้รับพิษงูทะเลจะมีปัสสาวะดำจาก hemoglobinuria และ myoglobinuria
-
-
-
ผู้ป่วยที่ได้รับพิษงูโดยเฉพาะงูแมวเซา งูกะปะ งูทะเล ตรวจ ECG จะพบการเปลี่ยนแปลงได้ เช่น sinus bradycardia, sinus arrhythmia, A-V block, ST and T wave changes
ตรวจปัสสาวะ จะพบเม็ดเลือดแดงและ granular cast ได้ ภายหลังได้รับพิษงูแมวเซา ผู้ป่วยบางคนมีอาการรุนแรง มีปัสสาวะดำได้เนื่องจาก hemoglobinuria
เม่นทะเลตำ
-
อาการและอาการแสดง
- Systemic reaction จะมีอาการแพ้ต่าง ๆ โดยเฉพาะ anaphylaxis
-
2.Local reaction จะมีอาการเจ็บปวดเหมือนถูกหนามตำ ต่อมาจะมีอาการชาบริเวณที่ถูกตำ และถ้าหนามของหอยเม่นหักคา จะปวดมาก โดยเฉพาะเม่นทะเลตำ จะมีหนามที่ยาวและเปราะมาก
-
คนกัด (Human bite)
หมายถึง การบาดเจ็บที่เกิดจากการต่อสู้กัน การทำร้ายร่างกาย หรืออาจพบในผู้ที่มีความผิดปกติระหว่างมีเพศสัมพันธ์ บาดแผลคนกัดจะทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่ายกว่าสัตว์อื่น เพราะในปากคนมีเชื้อโรคมากมาย
อาการและอาการแสดง
1.บาดแผลเหวอะหวะบริเวณใบหน้าหรือบริเวณใดที่มีขนาดกว้าง สกปรก มาก และไม่คิดว่าจะสามารถให้การดูแลรักษาเองได้
-
-
ผึ้ง ต่อ แตนต่อย
-
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
พยายามเอาเหล็กในออกให้หมด โดยใช้วัตถุที่มีรู เช่น ลูกกุญแจ กดลงไปตรงรอบที่ถูกต่อย เหล็กในจะโผ่ขึ้นมาให้คีบออกได้
ใช้ผ้าชุบน้ำที่มีฤทธิ์ด่างอ่อน เช่น น้ำแอมโมเนีย น้ำโซดาไบคาร์บอเนต น้ำปูนใส ทาบริเวณแผลให้ทั่ว เพื่อฆ่าฤทธิ์กรดที่ค้างอยู่ในแผล
-
-
-
-
แมงป่องหรือตะขาบกัด
ถ้าถูกแมงป่องหรือตะขาบกัดจะมีความเจ็บปวดมากกว่าแลงชนิดอื่น เพราะแมงป่องและตะขาบมีพิษมากกว่า บางคนที่แพ้อาจมีอาการปวดและบวมมาก มีไข้สูง คลื่นไส้ บางคนมีอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ และมีอาการชักด้วย
วิธีปฐมพยาบาล
พยายามทำให้เลือดไหลออกจากบาดแผลให้มากที่สุด อาจทำได้หลายวิธี เช่น เอามือบีบ เอาวัตถุที่มีรูกดให้แผลอยู่ตรงกลางรูพอดี เลือดจะได้พาเอาพิษออกมาด้วย
-
-
-
-
Anaphylaxis
-
การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ
ประเมินความรู้สึกตัว , ABCs
-
ให้ adrenaline 1:1000 ขนาด 0.30 - 0.5 ml IM , IV ในเด็กให้ 0.01 ml/kg./dose
-
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำโดยใช้ isotonic solution เพื่อรักษาภาวะความดันโลหิตต่ำลงหรือช็อก และเป็นการเปิดเส้นเลือดให้สำหรับฉีดยา
-
-
-
-
นิยาม ภาวะที่เกิดขึ้นฉับพลัน และเป็นอันตรายต่อชีวิต เกิดจากปฏิกิริยาภูมิคุ้มกันของร่างกายที่มีต่อสิ่งแปลกปลอม ซึ่งเคยเข้าไปกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายที่มีต่อสิ่งแปลกปลอม ที่เคยเข้าไปกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมาก่อนแล้ว (sensitized) โดยอาจมีอาการเฉพาะที่ (local) หรือมีอาการทุกระบบ (systemic) ก็ได้
-