Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด, นางสาวสุรีรัตน์ เผ่าหอม เลขที่…
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด
ความหมาย
ทฤษฎีความรักใคร่ผูกพัน (Theory of Bondingของ Klaus and Kennell (1982) การส่งเสริมความรักความผูกพันระหว่างมารดาและทารก อาจเกิดขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์ระยะแรกคลอด หรือเกิดขึ้นเมื่อมารดามีปฏิสัมพันธ์กับทารกในระยะหลังคลอด และจะพัฒนาอย่างงต่อเนื่องและมั่นคงต่อไป
Bonding ความผูกพันระหว่างพ่อแม่หรืดผู้เลี้ยงดู มีต่อทารกฝ่ายเดียว
attachment สัมพันธภาพระหว่างทารกกับพ่อแม่หรืดผู้เลี้ยงดู
การพัฒนาสัมพันธภาพในระยะหลังคลอด
ตั้งแต่นาทีแรกหลังคลดดจนกระทั่งถึง 1 ชั่วโมงแรกหลังคลอด เป็นช่วงเวลาที่มารดามีความรู้สึกไวที่สุด (Sensitive period) เป็นช่วงเวลาสำคัญที่เหมาะสมต่อการสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
กระบวนการพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก มีพัฒนาการตามลำดับ 9 ขั้นตอนดังนี้
ระยะก่อนการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 1 การวางแผนการตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
ขั้นที่ 2 การยืนยันการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 3 การยอมรับการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 4 การรับรู้การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์
ขั้นที่ 5 การยอมรับว่าทารกในครรภ์เป็นบุคคลคนหนึ่ง
ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
ขั้นที่ 6 การสนใจดูแลสุขภาพตนเดงและทารกในครรภ์และการแสวงหาการคลดดที่ปลอดภัย
ขั้นที่ 7 การมองดูทารก
ขั้นที่ 8 การสัมผัสทารก
ขั้นที่ 9 การดูแลทารกและให้ทารกดูดนม
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก ในระยะแรกเกิด
การสัมผัส (touch, tactile sense touch) ความผูกพันมารดาและบุตร คือ ความสนใจของมารดาในการสัมผัสบุตร
การประสานสายตา (eye -to -eye contact ) เป็นการเริ่มต้นพัฒนาการด้านความเชื่อมั่น ความไว้วางใจ และความสัมพันธ์กับบุคคลดื่น
การใช้เสียง (voice) การตอบสนองเริ่มทันทีที่ทารกเกิด เพื่อยืนยันภาวะสุขภาพของทารก และทารกแรกเกิดจะตอบสนองต่อระดับเสียงสูง (High pitch) ได้ดีกว่าเสียงต่ำ (Deep loud voice)
การเคลื่อนไหวเป็นจังหวะตามเสียงพูด (entrainment) มีความสัมพันธ์กับเสียงพูดสูงต่ำของมารดา
จังหวะชีวภาพ (biorhythmcity) มารดาจะช่วยทารกให้สร้างจังหวะชีวภาพได้โดยขณะที่ทารกร้องไห้ มารดาดุ้มทารกไว้แนบอก ทารกจะรับรู้เสียงการเต้นของหัวใจมารดา ซึ่งทารกจะคุ้นเคยตั้งแต่ในครรภ์
การรับกลิ่น (odor odor)
มารดาจากลิ่นกายของทารกได้ตั้งแต่แรกคลอด และแยกกลิ่น ทารกออกจากทารกดื่นได้ภายใน 3-4 วันหลังคลดด
ทารกสามารถแยกกลิ่นมารดาและหันเข้าหากลิ่นน้ำนมมารดาได้ภายในเวลา 6–10 วันหลังคลดด
การให้ความอบอุ่น (body warmth หรือ heat ) ทารกจะไม่เกิดการสูญเสียความร้อน และทารกจะเกิดความผ่อนคลายเมื่อได้รับความอบอุ่นจากมารดา
การให้ภูมิคุ้มกันทางน้ำนม (T and B lymphocyte) ทารกจะได้รับภูมิคุ้มกันในนมแม่ ได้แก่ T lymphocyte, B lymphocyte และ Immunoglobulin A ช่วยป้องกันและทำลายเชื้อโรคในระบบทางเดินอาหาร
การให้ภูมิคุ้มกันทางเดินหายใจ (bacteria nasal flora flora nasal) เกิดภูมิคุ้มกันช่วยป้องกันทารกติดเชื้อจากสิ่งแวดล้ดมภายนอก
การประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ความสนใจในการดูแลตนเองและทารก
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก
ความสามารถในการปฏิบัติบทบาทการเป็นมารดา
ความสามารถในการตอบสนองความต้องการของทารก
พฤติกรรมการขาดสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก (Lack of attachment )
ไม่สนใจมองบุตร สีหน้าเมินเฉยหรือหันหน้าหนี
ไม่ตอบสนองต่อบุตร เช่น ไม่สัมผัส ไม่ยิ้ม ไม่อุ้มกอดทารก เป็นต้น
พูดถึงบุตรในทางลบ
แสดงท่าทางหรือคำพูดที่ไม่พึงพอใจขณะดูแลบุตร
ขาดความสนใจในการซักถามเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุตรและการเลี้ยงดูบุตร
บทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์ในการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ระยะตั้งครรภ์
ยอมรับการตั้งครรภ์
ครอบครัวคอยให้กาลังใจ
การปรับบทบาทการเป็นบิดา มารดา
ยอมรับความเป็นบุคคลของทารกในครรภ์
การกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์
ระยะคลอด
สร้างบรรยากาศให้เกิดความไว้วางใจ
ลดความวิตกกังวลของผู้คลอด
ให้ข้อมูล เป็นสื่อกลางระหว่างผู้คลอดและครอบครัว
*ส่งเสริมให้การคลอดผ่านไปอย่างปลอดภัย
ระยะหลังคลอด
*ส่งเสริมให้มารดาสัมผัส โดบกดดทารกทันทีหลังคลดด ในระยะ sensitive period
*Rooming in โดยเร็วที่สุด
ให้คำแนะนาในการดูแลบุตร
ตอบสนองความต้องการของมารดา
กระตุ้นให้มีปฏิสัมพันธ์กับทารก
เป็นตัวแบบในการสร้างสัมพันธภาพกับทารก
ให้มารดา ทารก บิดา ได้ดยู่ด้วยกันตามลำพัง
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ปัจจัยด้านมารดา
ปัจจัยด้านทารก
ปัจจัยด้านบิดา
ปัจจัยด้านโรงพยาบาล
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจและอารมณ์
1.Taking-in phase เป็นระยะ 1-3 วันแรกหลังคลอดในช่วงนี้จึงสนใจต่อตนเองมีความต้องการพึ่งพา(Dependency needs)
Taking-hold phase ระยะนี้จะอยู่ในช่วง 4-10 วันหลังคลอด
Letting-go phase เป็นช่วงที่ต่อเนื่องจาก Taking-hold phase
บทบาทพยาบาล
1.ดูแลช่วยเหลือ ประคับประคองและตอบสนองความต้องการของมารดาหลังคลอดทางด้านร่างกายในเรื่องของการรับประทานอาหาร การพักผ่อน การรักษาความสะอาดของร่างกาย การขับถ่าย การทา กิจกรรมต่างๆ ลดภาวะไม่สุขสบายต่างๆ รวมทั้งการประคับประคองทางด้านจิตใจ
2.ให้การพยาบาลในท่าทีที่อบอุ่น เห็นอกเห็นใจ เข้าใจความรู้สึกเป็นอย่างดีด้วยความจริงใจ
3.เปิดโอกาสให้มารดาหลังคลอดได้ระบายความรู้สึก และรับฟังด้วยความสนใจ จะช่วยให้มารดาหลังคลอดสบายใจขึ้น
4.พยาบาลควรอธิบายให้สามีและญาติเข้าใจถึงความรู้สึกและการเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ของมารดาหลังคลอด สนับสนุนให้มารดาหลังคลอดได้พูดคุยกับสามี ญาติรวมทั้งมารดาหลังคลอดรายอื่นๆ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์
5.สังเกตอาการผิดปกติทางด้านจิตใจที่อาจจะเกดิขึ้นให้ความสนใจทั้งคาพูดและพฤติกรรมที่แสดงออก เพื่อประเมินสภาพจิตใจ ละให้การพยาบาลช่วยเหลือแต่เนิ่นๆก่อนที่อาการทางจิตจะ รุนแรงมากขึ้น
นางสาวสุรีรัตน์ เผ่าหอม เลขที่ 70 ห้อง B
นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 26