Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจนทารกแรกเกิด - Coggle Diagram
ภาวะขาดออกซิเจนทารกแรกเกิด
การพยาบาล
Record V/S Obs.consciousและอาการขาดออกซิเจน
ดูแลให้พักผ่อนและได้รับยาตามแผนการรักษา
Keep warm เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ดูดสิ่งคัดหลั่งให้มากที่สุดก่อนคลอด
กลไกการเกิดAsphyxia
การแลกเปลี่ยนก๊าซที่รกลดลง
ออกซิเจนไปที่รกลดลงทำให้ทารกขาดออกซิเจน
การไหลเวียนเลือดทางสายสะดือ
ปอดทารกขยายตัวได้ไม่ดี
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและตรวจพิเศษอื่นๆ
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 30 mg%
ค่า Calcium ในเลือดต่ำกว่า 8 mg%
ค่าABG ผิดปปกติ PaCO2 สูง(มากกว่า 40 mmHg) PaO2ต่ำ(น้อยกว่า 80 mmHg)PH และ HCO3 ต่ำ (PHน้อยกว่า 7)
ค่าของ Potassium ในเลือดสูง
การรรักษาตามความรุนแรง
APGAR 5-7 ระดับ Mild Asphyxia
=กระตุ้นการหายใจด้วยการใช้นิ้วมือตี / ดีดฝ่าเท้าทารก/ผ้าถูหน้าอก
APGAR 3-4 ระดับ Moderate Asphyxia
=ช่วยหายใจโดยใช้ Bag และ Mask ให้ออกซิเจน 100%
APGAR 8-10 ระดับ No Asphyxia
=ดูแลให้คววามอบอุ่น ช่วยทางเดินหายใจโล่ง
APGAR 0-2 ระดับ Severe Asphyxia
=ใส่Endotracheal tube ร่วมกับนวดหัวใจ
อาการและอาการแสดง
ระยะแรกเกิดทันที
Mild Asphyxia
= มี cyanosis เล็กน้อย หายใจตื่นๆ อัตราการเต้นหัวใจมากกว่า100ครั้ง/นาที
Severe Asphyxia = ทารกขาดออกซิเจนมาก เป็นกรดในกระแสเลือด ทารกมี cyanosis มาก หายใจเฮือก (gasping) ตัวอ่อนปวกเปียก
Moderate Asphyxia
= มี cyanosis ความสามารถในการหายใจอ่อน ความตึงตัวกล้ามเนื้ออ่อนมาก อัตราการเต้นหัวใจน้อยกว่า 100ครั้ง/นาที
ขณะคลอด
พบขี้เทาในน้ำคร่ำ
ขณะตั้งครรภ์
ทารกเคลื่อนไหวมากกว่าปกติต่อมาจะเคลื่อนไหวน้อยลง FHSระยะแรหมากกว่า160ครั้ง/นาที ต่อมาช้าลง
ผลจากการขาดออกซิเจนนานๆ
ปอด
= หายใจหอบเหนื่อย ตัวเขียว หายใจแบบgasping หยุดหายใจ
ระบบไหลเวียนเลือด
= หัวใจเต้นเร็ว ซีด อุณหภูมิต่ำ BP drop
ทางเดินปัสสาวะ = ปัสสาวะน้อย ไม่ถ่ายปัสสาวะ ปัสสาวะเป็นเลือด
ระบบประสาท
= ซึม หยุดหายใจบ่อย หัวใจเต้นช้า ม่านตาขยาย กล้ามเนื้อไม่มีแรง
การเปลี่ยนแปลงทางMetabolic
= ชัก เกิด hypoglycemia,hypocalcemia,hyperkalemia
ทางเดินอาหาร
= ท้องอืด มีการทำลายเยื่อลำไส้ ทำให้ลำไส้เน่าชนิด NEC