Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
โรคลมชัก (Epilepsy)
ภาวะทางระบบประสาทที่ทำให้เกิดอาการซ้ำๆ 2 ครั้งขึ้นไป ซึ่งเกิดจากเซลล์สมองปล่อยคลื่นไฟฟ้าผิดปกติ เกิดเป็นครั้งคราวทันทีทันใดและรุนแรง ความรู้สึกตัวลดลง
มักพบบ่อยในช่วงอายุ 2-5ปี เพศชายเป็นมากกว่าเพศหญิง
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุ : จากความผิดปกติของ Neurotransmission จากความผิดปกติของยีน
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้ : มีพยาธิสภาพภายในสมอง จัดอยู่ในกลุ่ม Systomatic epilepsy
ทราบสาเหตุ : ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง ภยันตรายระหว่างการคลอดหรือหลังคลอด ความผิดปกติพัฒนาทางสมอง สารพิษและยา เป็นต้น
อาการ
Preictal period
ระยะก่อนอาการชัก
อาการนำ
: อาการบางอย่างที่นำมาก่อนมีอาการชัก เกิดนานหลายนาที ไม่มีอาการจำเพาะ
อาการเตือน
: แตกต่างกันตามตำแหน่งสมอง เช่น ปวด ชา เป็นต้น
Ictal event หรือ Per-ictal period
ระยะที่เกิดอาการชักมีระยะเวลาตั้งแต่วินาทีจรถึงนาที
ไม่เกินครึ่งชั่วโมง
เกิดสั้นๆไม่เกิน15นาที
เกิดขึ้นเองบางครั้ง
เกิดทันทีทันใด
มีลักษณะเหมือนกันทุกครั้ง
Postical peroid
ระยะเวลาการชักสิ้นสุดลงมีอาการทางคลินิค ไม่เกิน 24 ชม.
Postical paralysis/Todd's paralysis
กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่
Automatism
การเคลื่อนไหวร่างงกายไปโดยอัตโนมัติขณะชัก เช่น เคี้ยวปาก กระพริบตาถี่ๆ
Interictal peroid
ช่วงเวลาระหว่างการชัก ไม่มีอาการผิดปกติใดๆ
ชนิดของโรคลมชัก
อาการชักตัวอ่อน
เสียความตึงตัวของกล้ามเนื้ออย่างทันทีเมื่อเกิดอาการชัก
ประมาณ1-2วินาที มักพบในคนที่อายุน้อยกว่า 5 ปี
อาการชักทั้งตัว
อาการชักเหม่อ
อาการชักเหม่อที่มีอาการกระตุกหรือสะดุั้งเป็นช่วงเวลาสั้นๆ
อาการชักเหม่อที่มีอาการตัวอ่อน
อาการชักเหม่อที่ไม่รู้ตัวหรือไร้สติเท่านั้น
อาการชักเหม่อที่ีอาการเกร็งกล้ามเนื้อ
ร่วมกับอาการเกร็งเฉพาะที่ใบหน้าหรือคอ
อาการชักเหม่อแบบตรง : เหม่อลอยไม่รู้สึกตัว เกิดประมาณ5-10 วินาที
อาการชักเฉพาะที่
ชักเฉพาะที่แบบขาดสติ
ขณะชักจะสูญเสียการรับรู้สติสิ้นสุดการชักจะจำเหตุการ์ณในช่วงชักไม่ได้
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ
ขณะชักรู้สึกตัวตลอดเวลา บอกได้ว่าที่เกิดมีลักษณะอย่างไร
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว
เป็นอาการชักเฉพาะที่ซึ่งมีอาการเริ่มจากส่วนหนึ่งของร่างกาย
แล้วค่อยๆกระจายไปยังส่วนที่อยู่ใกล้ต่อไปเรื่อยๆ
อาการชักเกร็ง
เกร็งแข็งจากกล้ามเนื้อมีความตึงตัวมากขึ้น เกิดนานประมาณ2-10วินาที มีลักษณะแขนขาเหยียดตรง อาการสั่นจากกล้ามเนื้อ
อาการชักเกร็งกระตุก
หมดสติร่วมกับอาการเกร็งกล้ามเนื้อทั้งตัวไม่เกิน 30 วินาที ตามด้วยกล้ามเนื้อกระตุกเป็นจังหวะนาน1-2นาที
อาการชักสะดุ้ง
มีลักษณะสะดุ้ง มีการหดตัวของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรงและรวดเร็ว อาการคล้ายสะดุ้งตกใจ ใช้เวลาไม่กี่วินาที
อาการชักกระตุก
กระตุกเป็นจังหวะ
ภาวะชักจากไข้สูง
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
มีความผิดปกติทางระบบประสาทก่อนชัก
ประวัติการชักในครอบครัว
อายุ โดยเฉพาะเด็กที่ชัดครั้งแรกในช่วงอายุก่อน 1 ปี
ไข้ที่เกิดขึ้นกับการติดเชือ้
สาเหตุ
ติดเชื้อในระบบต่างๆที่ไม่ใช่ระบบประสาท
อาการ
จะมีอาการชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศา เกิดภายใน 24 ชม.แรกที่มีไข้
มักเกิดในเด็กอายุ 3 เดือน-5ปี พบมากช่วงอายุ 17-24 เดือน
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple Febrile seizure (Primary febrile seizure)
ระยะเวลาการชักไม่เกิน 15 นาที
ไม่มีการชักซ้ำ
การชักเป็นแบบทั้งตัว
ก่อน-หลังชัก ไม่มีอาการทางระบบประสาท
มีไข้ร่วมกับชักในเด็กอายุ 6 เดือน-5ปี
Complex febrile seizure
ระยะเวลาการชักนานกว่า 15 นาที
เกิดการชักซ้ำ
การชักเป็นเฉพาะที่หรือทั้งตัว
หลังชักมีความผิดปกติทางระบบประสาท
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
เป็นการอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมอง มักพบในเด็กอายุตำกว่า5ปี พบบ่อยสุดในฤดูหนาว
เชื้อแบคทีเรียที่พบคือ
Neisseria meningitidis
พบได้ในเด็กและวัยรุ่น
Streptococcus peumoniae
Haemophilus influenzae
มักก่อให้เกิดโรคในเด็กอายุ2เดือน-7ปี เชื้อมักเข้าหูชั้นกลางอักเสบ โพรงอากาศจมูกอักเสบ
อาการและอาการแสดง
คอแข็ง ตรวจพบ Kernig sign และ Brudzinski sign ให้ผลบวก
มีอาการที่แสดงว่าเส้นประสาทสมองถูกทำลาย ตรวจ Babinski ได้ผลบวก
ไข้สูง หนาวสั่น ปวดหัว ปวดข้อ ชักและซึม
ถ้าเกิดจากเชื้อ เมนิโกคอคคัส จะพบผื่นแดงที่ผิวหนัง
พบNeutrophil ร้อยละ85-95 ใน CSF ประมาณ 1,000-100,000 เซลล์/คิวบิคมิลลิเมตร
การตรวจน้ำไขสันหลัง
ไม่มีเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว
โปรตีน15-45mg/100ml
ความดันระหว่าง75-180 มม.น้ำ
กลูโคส50-75mg/100ml
ค่าปกติของน้ำไข้สันหลัง ปกติจะไม่มีสี
คลอไรด์700-750mg/100ml
Culture&Latex agglutination
ไข้กาฬหลังแอ่น(Meningococcal Meningitis)
เชื้อสาเหตุ
เชื้อ Nesseria meningitides เป็นเชื้อแกรมลบ
การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจ
การตรวจวิเคราะห์ยืนยันเชื้อก่อโรคไข้กาฬหลังแอ่น
วิธีตรวจหาค่า Minimum inhibition concentration (MIC)
วิธี Seminested-PCR
วิธีทางชีวเคมีและวิธีPCR
ระยะติดต่อ
สามารถแพร่เชื้อได้แม้จะไม่มีอาการและสามารถแพร่ได้จนกว่า
จะตรวจไม่พบเชื้อในจมูกและน้ำลาย
วิธีการติดต่อ
แบบเชื้อแพร่เข้ากระแสเลือด/เลือดเป็นพิษ : มีผื่นขึ้น
เลือดออกตามผิวหนัง อาจเกิดเลือดออกในลำไส้และต่อมหมวกไต
แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ : เกิดอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
แบบไม่มีอาการ/อาการน้อย : เกิดการอักเสบเฉพาะที่ มักไม่มีอาการ
อาการและอาการแสดง
ผื่นแดง จ้ำเลือด อาจเกิดภาวะช็อคอย่างรวดเร็ว
Memingococcemia
Acute Memingococcemia
อาการนำคือ ปวดศีรษะ เจ็บคอและไอ ตามด้วยไข้สูง หนาวสั่น ปวดตามข้อและกล้ามเนื้อ ผื่นแดงจ้ำตามตัว ใน2-3วันต่อมา
จะเปลี่ยนเป็นสีคล้ำจนตกสะเก็ดดำ
Chronic Memingococcemia
มีไข้เป็นๆหายๆ ผื่นตามผิวหนังเป็นผื่นแดงจ้ำ ปวดและเจ็บข้อเป็นเดือน
Fulminant Memingococcemia
มักมีอาการไข้สูงทันที อ่อนเพลียมาก ระบบไหลเวียนไม่ทำงาน
อาจช็อคจนเสียชีวิตได้
ไข้ ปวดศีรษะสูง อาเจียน คอแข็ง
Meningitis
ไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึม สับสน อาการที่แสดงถึงการระคายเคือง
ของเยื่อหุ้มสมอง มีจ้ำเลือดตามผิวหนัง
การรักษา
ยาปฏิชีวนะ
PGS
Ceftriaxone
Chloramphenicol
การรักษาแบบประคับประคองและตามอาการอื่นๆ
Glucocortid therapy ก่อนให้ยาปฎิชีวนะ 15 นาที
การป้องกันผู้สัมผัสโรค
บุคคลใกล้ชิดกับผู้ป่วย ต้องได้รับยาป้องกัน
Ceftriaxone
Ciprofloxacin
Rifampicin
การควบคุมป้องกันโรค
การป้องกันสำหรับผู้สัมผัสโรค รีบให้ยาฆ่าเชื้อแก่ผู้ใกล้ชิดผู้ป่วย
ให้วัคซีนป้องกันโรคทั้งผู้ใหญ่และเด็กโต หรือผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงสูง
การรักษา ยา
penicillin
และ
chloramphenical
มีประสิทธิผลดีต่อการรักษาโรค
ให้ความรู้แก่ประชาชน โดยหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับละอองน้ำมูก
น้ำลาย จากผู้ป่วย ไม่เข้าไปในที่แออัด
ความไม่รู้สึก
เป็นภาวะการทำงานของสมองที่ไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ระดับความรู้สึกตัว
ระดับความรู้สึกง่วงงุน : สามารถเคลื่อนไหวได้เล็กน้อย พูดช้า สับสน
การรับรู้ผิดปกติ : ไม่รับรู้ต่อเวลา บุคคล สถานที่ ระดับความรู้สึกตัวเริ่มลดลง
ระดับความรู้สึก stupor : ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว หลับลึก แต่ยังตอบสนอง
ความรู็สึกสับสน : รู้สึกสับสนและมีความผิดปกติ
เกี่ยวกับการตัดสินใจ
ระดับความรู้สึกตัวดี : รับรู้ต่อเวลา บุคคล สถานที่เป็นปกติ
ระดับหมดสติ : ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง
ท่าทางของเด็กในภาวะไม่รู้สึกตัว
ปฏิกิริยาสะท้อนกลับ
ช่วงหมดสติระดับลึกจะพบว่า Reflexes ต่างๆของเด็กจะหายไป
Decerebrate posturing
: เป็นท่าที่เด็กนอนหงาย แขนทั้ง2 เกร็ง เหยียดออกและคว่ำแขนลง ขาทั้ง 2 ข้างเกร็งและเหยีดออก มักพบในเด็กหมดสติที่สมองส่วน Midbrain
Decorticate posturing
: เป็นท่าที่เด็กนอนหงาย งอแขนทั้ง2ข้างเข้สหสตัวในระดับไหล่ กำมือแน่นและงอข้อมือทั้ง2ข้าง ส่วนขาทั้ง2ข้าง เหยียดปลายเท้าออกและงอปลายเท้าเข้าหากัน มักพบในเด็กหมดสติที่สมองส่วน Cerebral cortex
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ
กรณีที่2
มีไข้ นึกถึง ความผิดปกติที่สมองจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง สมองและไขสันหลัง
กรณีที่1
ไม่มีไข้ นึกถึง ความผิดปกติของสมองที่เกิดจากการได้รับบาดเจ็บ เนื้องอกในสมอง โรคลมชัก
กรณีที่3
มีไข้ เกิน 38 องศา อายุประมาณ 6 เดือน-5ปี
นึกถึง Febrile convulsion
อาการสำคัญ
ชักเกร็ง
ซึม ไม่ดูดนม
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
โรคอุทกเศียร : น้ำไขสันหลั่งคั่งในโพรงสมอง :
ภาวะน้ำคั่งในกะโหลกศีรษะ (Hydrocephalus)
อาการแสดงทางคลินิค
เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
อาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูง เช่น ปวดศีรษะ ตามัว อาเจียน
หนังศีรษะบางและเห็นเส้นเลือดดำ
ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้
รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง
ตาเขเข้าในมองไปด้านข้างไม่ได้เนื่องจาก CN 6TH Palsy มองเห็นภาพซ้อน
รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน
รีเฟลกซ์ไวเกิน
หัวโตกว่าปกติเมื่อกับ Growth curve ปกติ
การหายใจผิดปกติ
หัวบาตร
การพัฒนาการช้ากว่าปกติ
สติปัญญาต่ำกว่าปกติ
เด็กเลี้ยงยากไม่รับประทานอาหาร
อาการสำคัญ
Congenital Hydrocephalus
ความผิดปกติในการสร้างน้ำไขสันหลังน้ำไขสันหลัง
Obstructive Hydrocephalus
ความผิดปกติในการอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
ศีรษะโตแต่กำเนิด กระหม่อมหน้าโป่ง ศีรษะโตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับทรวงอก
Communicate Hydrocephalus
ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง post meningitis
ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
การรักษา
การรักษาด้วยยาขับปัสสาวะ
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
EVD
Ventriculostomy
External Ventricular Drainage
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
โพรงสมองลงช่องปอด
โพรงสมองลงช่องใต้เยื่อหุ้มสมอง
โพรงสมองลงช่องหัวใจ
โพรงสมองลงช่องในครรภ์ลงถุงน้ำคร่ำ
โพรงสมองลงช่องท้อง
สายระบายน้ำในโพรงสมอง
วาล์วและส่วนที่เก็บน้ำหล่อสมอง
สายระบายลงช่องท้อง
สายระบายจากโพรงสมอง
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
การอุดตันสายระบายน้ำในสมองมากเกิน
ภาวะโพรงสมองตีบแคบ
ภาวะเลือดออกในศีรษะ เกิดเลือดออกในโพรงสมอง
การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
ไตอักเสบ
กาทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
มีการอุดตันหรือระบายมากเกิน
การรักษา IICP
การรักษาเบื้องต้น
กรณีผู้ป่วยซึม ไม่รู้สึกตัว แพทย์จะรักษาโดยการใส่ท่อหลอดลมคอและช่วยหายใจเพื่อลดความดัน PaCO2
การให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำ
Osmotic diuritics
Corticosteroids
Furosemide
Hypothermia
จัดท่านอนราบศีรษะสูง15-30 องศา
การรักษาความผิดปกติที่เกิดต่อเนื่องจากพยาธิสภาพเดิม
Hydrocephalus
ภาวะสมองบวม
การรักษาเฉพาะ
รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิด IICP เช่น เนื้องอก
ความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง (Spina Bifida)
Spina bifida occulta
ผิดปกติกระดูกสันหลัง Vetebral arches ไม่รวมตัวกันเกิดเป็นช่องโหว่ง
Spina bifida cystica
ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลังทำให้มีการยื่นของไขสันหลังให้เห็นเป็นถุงหรือก้อน มี 2 ชนิด
Meningocele
ก้อนหรือถุงน้ำประกอบด้วยเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลัง ไม่มีเนื้เยื่อประสาทไขสันหลัง ไขสันหลังอยู่ต่ำแหน่งปกติ ไม่เกิดอัมพาต
Myelomeningocele/Meningomyelocele
กระดูกสันหลังผิดปกติ มีก้อนหลังยื่นออกมา ก้อนหรือถุง มีเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลังและไขสันหลัง พบบ่อย อันตรายและเกิดความพิการ ความรุนแรงขึ้นอยู่กับตำแหน่ง
เป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง พบบ่อยสุดที่ Lumbosacrum
วินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
แขนขาอ่อนแรง พบก้อนหรือถุงตามแนวกระดูกสันหลัง
การตรวจพิเศษ
การตรวจระดับ alpha fetoprotein ขณะตั้งครรภ์
CT
ใช้ไฟฉายส่องบริเวณก้อนหรือถุงแยกเพราะ meningocele จะโปร่งใสไม่มีไขสันหลังอยู่
การซักประวัติ
ได้ยากันชัก ประเภทValparic acid
มาราดาไม่ได้รับกรดโฟลิคขณะตั้งครรภ์
การรักษา
Spida bifida occulta ไม่จำเป็นรักษา แต่ชนิด Cystica ต้องผ่าตัดภายใน24-48ชม.
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการสำคัญ
หายใจไม่มีประสิทธิภาพ
การดูดกลืนบกพร่อง เลี้ยงไม่โต
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น
ข้อติดแข็ง พัฒนาการล่าช้า
มีประวัติสมองขาดออกซิเจนนึกถึง Cerebral palsy
สมองพิการ (CP : Cerebral palsy)
ส่งผลให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว การทรงตัว
กล้ามเนื้อหดเกร็ง
Splastic diplegia
มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง2ข้าง ขาเป็นมากกว่าแขน
Splastic quadriplegia
มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง2ข้าง คอและลำตัวอ่อนผิดปกติ
ศีรษะเล็ก น้ำลายไหล
Splastic hemiplegia
ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
Extrapyramidol cerebral palsy (athetoidsis)
การเคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น
บังคับส่วนต่างๆของร่างกายไม่ได้ กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
Mixed type
หลายอย่างร่วมกัน
Ataxia cerebral palsy
มีเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื้อตึงตัวน้อย ทรงตัวไม่ดี สติปัญญาปกติ
อาการแสดง
ปัญญาอ่อน
ชัก หูหนวก ตาบอด ปัญหาด้านการพูด
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า การทรงตัวผิดปกติ
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ : มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด คลอดท่าก้น ตัวเกร็ง
ประเมินร่างกาย : เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติ