Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน
Immune system
ภูมิคุ้มกันคือระบบที่คนต้องร่างกายของเราจากสิ่งแปลกปลอมต่างๆที่อาจเข้ามาทำอันตรายร่างกายได้เช่นเชื้อโรคชนิดต่างๆได้แก่แบคทีเรียไวรัสปรสิตพยาธิรวมถึงสิ่งแปลกปลอมอื่นๆ
หน้าที่
Defense =ป้องกันและทำลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม
Homeostasis =ควายจำกัดสิวปกติที่สามสภาพเช่นเม็ดเลือดที่มีอายุมากแล้วออกจากระบบร่างกาย
Surveillance =คอยจับตาดูเซลล์ต่างๆที่จะไปสภาผิดไปจากปกติเช่นค่อยดักทำลายtumor cells เพื่อป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง
ความผิดปกติ
ระบบภูมิคุ้มกันร่างกายทำงานมากเกินไปหรือภูมิไว้เกินทำให้มีการตอบสนองที่รุนแรงผิดปกติสารบางอย่าง
การทำงานของระบบภูมิคุ้มกันร่างกายบกพร่อง
ระบบภูมิคุ้มกันทำงานสับสนไม่สามารถแยกแยะแอนติเจนแปลกปลอมเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกันเข้าจู่โจม
Hypersensitivity
Type ll
Allergenคือเซลล์แปลกปลอมเช่นในการให้เลือดผิดกลุ่มการปลูกถ่ายอวัยวะกลไกในร่างกายตอบสนองโดยสร้างแอนติบอดีชนิดlgGและIgMไปเกาะกับเซลล์แปลกปลอมทำให้เกิดการกระตุ้นระบบComplementเซลล์จะแตกสลายมีPhagocyte เข้ามากินและหลังเอนไซม์ออกมาทำให้เกิดการอักเสบเช่นการที่เลือดแม่กับลูกไม่เข้ากันการปฏิเสธการปลูกถ่ายอวัยวะ
Type lll
ยาซีรั่มแก้พิษงูเชื้อจุลินทรีย์วัคซีนแอนติเจนของตัวเองในผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่อต้านตนเองแอนติบอดีที่เคยเป็นชนิดIgMภาวะภูมิแพ้
Type l
Allergen คือฝุ่นยาอาหารเกษรดอกไม้ซีรั่มม้าซึ่งร่างกายได้รับทางการสัมผัสกินฉีดหรือหายใจอาการแพ้ที่เกิดจะเกิดเร็ว
Histamine เป็นสารที่ออกฤทธิ์ทำให้เส้นเลือดฝอยขยายตัวทำให้เกิดการบวมแดงคันทำให้เกิดการเหลืองเรียบหดตัวเกิดการหดหดได้ถ้าการแพ้เกิดมากๆมีผลทำให้ชีพจรเต้นเร็วความดันโลหิตต่ำช็อคได้เรียกว่าเกิดAnaphylaxis
Type lV
อาจเรียกว่าdelayed type hypersensitivityหรือภาวะภูมิแพ้แบบช้าสิวที่เกี่ยวข้องคือTeffectorหรือTdth ตัวอย่างของภูมิแพ้แบบนี้เช่นการแพ้สารเคมีที่ผิวหนังเช่นการแพ้ผงซักฟอกในผู้ที่เป็นโรคอ้วน การทำ
tuberculin test การเกิดภูมิแพ้แบบนี้ให้เกิดช้า 48 ถึง 72 ชั่วโมง
โรคภูมิแพ้
โรคที่มีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน โดยที่ร่างกายจะมีปฏิกิริยาไวต่อสารที่ก่อให้เกิดโรคภูมิแพ้หรือสารระคายเคือง ซึ่งจะทำให้เกิดอาการแพ้ โรคชนิดนี้มักไม่ค่อยรุนแรงถึงชีวิต แต่จะส่งผลรบกวนต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการเรียนหรือทำงาน
อาการ
• ไอ แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด โรคหอบ หืด
• คัดจมูก น้ำมูกไหล จาม
• เคืองตาและตาแดง คัดจมูก
• มีผื่นที่ผิวหนัง เช่นผื่นแพ้ ลมพิษ คันตามผิวหนัง
• บวมรอบปาก อาเจียน และถ่ายเหลว
• แสบคอ น้ำมูกไหลลงคอ หูอื้อ
สาเหตุ
กรรมพันธุ์ กรณีที่คนในครอบครัวมีประวัติเป็นโรคภูมิแพ้คือสิ่งหนึ่งที่เป็นเครื่องบ่งชี้ว่าบุคคลนั้นจะมีโอกาสเสี่ยงเป็นภูมิแพ้ได้ง่าย เพราะภูมิแพ้เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ได้ ถ้าพ่อ หรือแม่เป็น ลูกก็จะมีโอกาสป่วยเป็นโรคภูมิแพ้ได้ประมาณ 30% แต่ถ้าหากทั้งพ่อและแม่เป็นโรคภูมิแพ้ทั้งคู่ ลูกที่เกิดจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นภูมิแพ้สูงถึง 60-70 %
สิ่งแวดล้อม เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญอย่างมากเพราะสารก่อภูมิแพ้ที่จะเข้าสู่ร่างกายของเรา เกิดจากภาวะแวดล้อมทั้งสิ้น ซึ่งสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง เช่นการหายใจ การรับประทานอาหาร หรือแม้กระทั่งการสัมผัสสารที่ร่างกายได้รับ
การรักษา
หลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้ และสารระคายเคือง เนื่องจากการรักษาที่ดีที่สุดของโรคภูมิแพ้ คือการหลีกเลี่ยงสารที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้
การใช้ยารักษา แพทย์จะวินิจฉัยและจ่ายยาให้ผู้ป่วยอย่างเหมาะสม เพื่อบรรเทาและควบคุมอาการที่จะเกิดขึ้น ผู้ที่มีอาการคัดจมูกมากอาจจะต้องใช้ยาลดอาการคัดจมูก สำหรับผู้ที่มีอาการเรื้อรังอาจจะต้องใช้ยาพ่นจมูก
การฉีดวัคซีนรักษาโรคภูแพ้ โดยผู้ป่วยจะได้รับการฉีดสารก่อภูมิแพ้เพื่อให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันชนิด IgG การฉีดจะเลือกฉีดเฉพาะสารก่อภูมิแพ้ที่ทดสอบทางผิวหนังแล้วพบว่าแพ้
ระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง Immune deficiency
โรคเอดส์AIDS
ระยะสงบทางคลินิก (Clinical Latency Stage) เป็นระยะที่เชื้อไวรัสอยู่ในร่างกายโดยไม่แสดงอาการใดๆ หรืออย่างมากที่สุดคือมีอาการเพียงเล็กน้อย บางครั้งเรียกระยะนี้ว่า ระยะติดเชื้อเรื้อรัง (chronic HIV infection) หรือ ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ (asymptomatic HIV infection)
ระยะโรคเอดส์ (AIDS) เป็นระยะที่การติดเชื้อเอชไอวีได้พัฒนาเป็นโรคเอดส์
ระบบภูมิคุ้มกันที่แข็งแรงมีปริมาณเซลล์ CD4 อยู่ระหว่าง 500 ถึง 1,600 ในขณะที่ผู้ป่วยโรคเอดส์มี CD4 ต่ำกว่า 200 เมื่อถึงจุดนี้ระบบภูมิคุ้มกันได้ถูกทำลายอย่างรุนแรงจนผู้ป่วยมีอาการติดเชื้อฉวยโอกาส
ระยะเฉียบพลัน (Acute HIV Infectious) เป็นระยะแรกของการติดเชื้อเอชไอวี เกิดขึ้นระหว่าง 2-4 สัปดาห์หลังจากติดเชื้อ ในระยะนี้ผู้ติดเชื้อจำนวนมากจะเริ่มมีอาการคล้ายเป็นไข้หวัดใหญ่ เช่น มีไข้ เจ็บคอ ต่อมน้ำเหลืองโต ปวดเมื่อยตามร่างกาย มีผื่นและปวดหัว
อาการ
เหนื่อยผิดปกติ
อาการไข้ที่กลับมาเป็นซ้ำๆ
ปอดอักเสบ
เหงื่อออกตอนกลางคืน
น้ำหนักลดอย่างรวดเร็ว
แผลที่ริมฝีปาก อวัยวะเพศและทวารหนัก
อาการบวมที่ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ รักแร้และขาหนีบ
การรักษา
ในปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ให้หายขาดได้ แต่มียาหลายชนิดที่ช่วยรักษาอาการติดเชื้อเอชไอวี
มียารักษาอาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ที่ได้รับการรับรองมากกกว่า 25 ชนิด เรียกว่า ยาต้านรีโทรไวรัส (antiretroviral drugs หรือเรียกย่อว่า ARV) ซึ่งทำหน้าที่ยับยั้งหรือต้านการแบ่งตัวของเชื้อ เอชไอวี รวมถึงช่วยลดความเสี่ยงในการแพร่กระจายโรคสู่คนอื่น