Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท :explode: - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท :explode:
ความไม่รู้สึกตัว
ภาวะการทำงานของสมอง ที่ไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า แม้ว่าสิ่งเร้านั้นจะรุนแรง หรือก่อให้เกิดความเจ็บปวดก็ตาม
ระดับความรู้สึกตัว
การรับรู้ผิดปกติ
ไม่รับรู้ต่อเวลา บุคคล และสถานที่ ระดับความ รู้สึกตัวเริ่มลดลง
ระดับความรู้สึกง่วงงุน
สามารถเคลื่อนไหวได้เล็กน้อย มีอาการง่วงงุน พูดช้า และสับสน เมื่อกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าหรือปลุกผู้ป่วยจะ สามารถโต้ตอบได้ตามปกติ
ระดับความรู้สึก stupor
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว หลับลึก แต่ยังสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่รุนแรงและ กระตุ้นซ้ าๆ กันหลายครั้ง
ความรู้สึกสับสน
ผู้ป่วยจะรู้สึก สับสนและมีความผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสินใจ
ระดับหมดสติ
ไม่รู้สึกตัว ไม่ สามารถตอบสนองทั้งด้านการเคลื่อนไหวหรือ ทางวาจา ต่อสิ่งกระตุ้น ต่างๆ
ระดับความรู้สึกตัวดี
ผู้ป่วย จะตื่นและรู้สึกตัวดี การรับรู้ต่อเวลา บุคคล และ สถานที่ เป็นปกต
ท่าทางของเด็กไม่รู้สึกตัว
Decerebrate posturing
พบในเด็กหมดสติที่สมองส่วน Midbrain ไม่ สามารถท างานได้ตามปกติ
Decorticate posturing
พบ ในเด็กหมดสติที่มีการท าลายของเนื้อสมองส่วน cerebral cortex อย่างรุนแรง
ภาวะไม่รู้สึกตัว ร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการสำคัญ
ชักเกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
กรณีที่ 1 ไม่มีไข้
ความผิดปกติของสมองที่เกิดจากการได้รับ บาดเจ็บ (Head Injury) เนื้องอกในสมอง (Brain Tumor) โรค ลมชัก (Epilepsy)
กรณีที่ 3 มีไข้สูง เกิน 38 °c
อายุ ประมาณ 6 เดือน – 5 ปี ไม่มีการ ติดเชื้อของระบบประสาทนึกถึง Febrile convulsion
กรณีที่ 2 มีไข้
ความผิดปกติที่สมองทีเกิดจากการติดเชื้อของ เยื่อหุ้มสมอง สมองและไขสันหลัง (Meningitis ;Encephalitis; Tetanus)
ภาวะชักจากไข้สูง
อาการ
อาการชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส
อาการชักเกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข้
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure
การชักเป็นแบบทั งตัว (generalized seizure)
ระยะเวลาการชักเกิดช่วงสั น ๆ ไม่เกิน 15 นาที
ก่อน – หลัง ชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
Complex febrile seizure
การชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั งตัว
ระยะเวลาการชักเกิดนานมากกวา่ 15 นาที
หลังชักจะมีความผิดปกติของระบบประสาท
เสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคลมชัก
โรคลมชัก
อาการและอาการแสดง
Preictal period
อาการนำ
มีอาการชัก อาจเกินนานหลายนาที ชั่วโมงก่อนชัก
อาการเตือน
มีอาการปวด ชา เห็นภาพหลอน เป็นต้น
Ictal event
ระยะที่เกิดอาการชัก มีระยะเวลาตั้งแต่วินาที จนถึงนาที มักจะไม่นานเกินครึ่งชั่วโมง
Postictal peroid
ระยะเวลาเมื่อการชักสิ นสุดลง มีอาการ ทางคลินิค มีการเปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าสมอง ระยะนี อาจเกิดนาน หลายวินาทีถึงหลายวันก็ได้ ส่วนใหญ่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง
Interictal peroid
ช่วงเวลาระหว่างการชัก เริ่มตั้งแต่ระยะเวลา หลังการชักหนึ่งสิ้นสุดลงไปจนถึงเริ่มเกิดชักครังใหม่ โดยทั่วไปจะไม่มีอาการแสดงใดๆ แต่อาจพบคลื่นไฟฟ้าสมองที่ผิดปกติ
ชนิดของโรคลมชัก
อาการชักเฉพาะที่
อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสต
อาการชักเฉพาะที่ตามดว้ยอาการชักทั้งตัว
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ
อาการชักทั้งตัว
อาการชักเหม่อ (Absence)
อาการเกร็งกระตุก (Tonic clonic seizures)
อาการชักกระตุก (Clonic seizures)
อาการชักเกร็ง (Tonic seizures)
อาการชักตัวอ่อน (Atonic seizures)
อาการชักสะดุ้ง (Myoclonic seizures)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
อาการและอาการแสดง
ตรวจพบ Kernig sign และ Brudzinski sign ให้ผลบวก
มีอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ มีอาการ คอแข็ง (Nuchal rigidity คือ มีแรงต้านเมื่อก้มคอผู้ป่วย)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
ในรายที่เกิดจากเชื อเมนิงโกคอคคัส จะตรวจพบผื่นแดงที่ผิวหนัง จุดเลือดออก กระจายทั่วๆไป
การประเมินสภาพ
Meningeal Irritation
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides
ระยะติดต่อ
ผู้ที่ไม่มีอาการ(พาหะ) และผู้ป่วยสามารถแพร่โรคได้ จนกว่าจะตรวจไม่พบเชื้อในน้ำมูก น้ำลายแล้ว
เชื้อจะหมดไปจากช่องโพรงจมูกทางด้านหลัง ( nasopharynx ) ของผู้ป่วยภายใน 24 ชั่วโมง
ผู้ป่วยได้รับยาต้านจุลชีพที่เหมาะสม penicillin จะใช้ยับยั้งเชื้อได้ชั่วคราว
อาการและอาการแสดง
Meningococcemia
Chronic Meningococcemia
พบได้น้อย ส่วนใหญ่มักมีไข้ ผื่นตามผิวหนัง อาจเป็น ผื่นแดงจ้ า ปวดและเจ็บข้ออยู่เป็นเดือน ไข้จะเป็นๆ หายๆ
Fulminant Meningococcemia
เป็นอย่างรุนแรง ระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทำงานอาจช็อคถึงเสียชีวิตได
Acute Meningococcemia
อาการเกิดอย่างฉับพลัน มีอาการปวดศีรษะ เจ็บคอและไอ เป็นอาการนำมาก่อน ตามด้วยไข้สูง
Meningitis
อาจพบอาการที่แสดงถึงการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง ผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีจ้ำเลือดออกตามผิวหนัง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ าเลือด (pink macules) ขึ้นตามผิวหนังร่วมด้วย
การรักษา
ยาปฏิชีวนะ เช่น Ceftriaxone /PGS/Chloramphenicol
การรักษาแบบประคับประคองและตามอาการอื่นๆ
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
โรคอุทกเศียร : น้้าไขสันหลังคั่งในโพรงสมอง
อาการสำคัญ
ศีรษะโตแต่กำเนิด,กระหม่อมหน้าโป่ง,ศีรษะโตเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับทรวงอก
Congenital Hydrocephalus ความผิดปกติในการสร้างน้ าไขสันหลัง
Obstructive Hydrocephalus ความผิดปกติในการอุดกั้นทางเดินน้ำไข สันหลัง
Communicate Hydrocephalus ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสัน หลัง post meningitis
การรักษา
การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
สายระบบน้ำในโพรงสมอง
สายระบายจากโพรงสมอง
วาล์ว(Valve)และส่วนที่เก็บน าหล่อสมอง(Reservoir)
สายระบายลงช่องท้อง(Peritoneal shunt)
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญ
มีก้อนที่หลัง หรือที่หน้าผาก ขาอ่อน แรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง มีประวัติ ไม่ได้รับวัคซีน ไม่มีประวัติการคลอดในรพ. เป็นชนต่างด้าว
Spina Bifida
Spina bifida occulta
ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral arches ไม่รวมตัวกัน เกิดเป็นช่องโหว่ระหว่างแนวกระดูกสันหลัง เกิดบริเวณ L5 หรือ S1 ไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมองยังอยู่ในกระดูกสันหลัง
Spina bifida cystica
ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง ทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง หรือเยื่อหุ้มสมองผ่านกระดูกออกมาให้เห็นเป็น ถุงหรือก้อน
Meningocele
ก้อนหรือถุงน าประกอบไปด้วยเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลัง ไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง ไขสันหลังอยู่ตำแหน่งปกติ ไม่เกิดอัมพาต
Myelomeningocele
กระดูกสันหลังผิดปกติ มีก้อนยื่นออกมา ก้อนหรือถุง มีเยื่อหุ้มสมอง น้ำไข สันหลังและไขสันหลัง พบบ่อย อันตรายและเกิดความพิการ
การรักษา
Cystica ต้องผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด เพื่อลดการติดเชื้อ
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการสำคัญ
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจไม่มีประสิทธิภาพ การดูดกลืนบกพร่อง เลี้ยงไม่โต ข้อติดแข็ง พัฒนาการล่าช้า
มีประวัติ สมองขาดออกซิเจน
สมองพิการ
ชนิดของสมองพิการ
Extrapyramidol cerebral palsy (athetoidsis)
การ เคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น บังคับส่วนต่างๆของร่างกายให้ไปในทิศทางที่ต้องการไม่ได้ กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
Ataxia cerebral palsy
มีเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื้อตึงตัว น้อย ทรงตัวได้ไมดี สติปัญญาปกติ
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Splastic diplegia
มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2 ข้าง ขาเป็นมากกว่าแขน
Splastic hemiplegia
ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
Splastic quadriplegia
มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขา ทั้ง 2 ข้าง คอและลำตัวอ่อนผิดปกติ ศีรษะเล็ก น้ำลายไหล
Mixed type
อาการและอาการแสดง
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ ร่วม เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด การรับรู้ผิดปกติปัญหาด้านการพูด
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า โดยเฉพาะด้านการเคลื่อนไหว การทรงตัวผิดปกติ
เป้าหมายการพยาบาลเด็กที่ไม่รู้สึกตัว
ได้รับการดูแลขั้นพื้นฐานอย่างมีประสิทธิภาพ
ด้านการขับถ่าย
ด้านความสะอาด
ด้านอาหาร
แรงดันภายในสมองต้องไม่เพิ่มขึ้น
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้
ภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับตา
ภาวะแทรกซ้อนทางผิวหนัง
ภาวะแทรกซ้อนระบบหายใจ
การทำทางเดินหายใจโล่ง
ครอบครัวผู้ป่วยเด็กได้รับความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับการเจ็บป่วย