Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ (กระดูกหัก), image,…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ (กระดูกหัก)
พัฒนาการเด็กตั้งแต่แรกเกิด
3 เดือน
ชันคอ ยกศรีษะจากพื้นเมื่อนอนคว่ำ
4 เดือน
พลิกตะแคงตัวได้ หันตามเสียง
6 เดือน
นั่งทรงตัวได้นาน สนใจฟังคนพูด
12 เดือน
เดินโดยจูงมือเด็กทั้ง 2 ข้าง ค้นหาของเล่นที่ซ่อนไว้ใต้ผ้าห่มได้
15 เดือน
คว่ำขวดเท เพื่อเอาขนมหรือของเล่นในขวด พูดได้อย่างน้อย 4 คำ
18 เดือน
เดินข้าม หรือหลบหลีกสิ่งกีดขว้าง
ชี้อวัยวะของร่างกายได้ 4 – 5 ส่วน
2 ปี
ชี้อวัยวะของร่างกายได้ 10อย่าง บอก
ได้เมื่อต้องการขับถ่าย
3 ปี
เดินเขย่งปลายเท้าได้ 3เมตร เลือกของที่
มีขนาดที่ใหญ่กว่าหรือเล็กกว่าได้ถอดเสื้อผ้าเองได้
4 ปี
กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าได้ 2-3 ครั้ง
ใช้นิ้วหัวแม่มือแตะได้
5 ปี
ก้มเก็บของขณะที่วิ่งได้ จับดินสอได้ด้วยท่าทางที่ถูกต้อง
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยก
ออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง
สาเหตุ
มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุนำมาก่อนมีแรง
กระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน
ข้อเคลื่อน
ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่
หรือหลุดออกจากเบ้า
สถิติกระดูกหักในเด็ก
อายุ
6 ถึง 8 ปี จ านวน 93 ราย
12 ถึง 15 ปี จ านวน 206 ราย
ต่ำกว่า 4 ปี พบน้อย
เพศ
ชายมากกว่าหญิง
สาเหตุที่พบบ่อยเกิดจากการหกล้มเป็นส่วนใหญ่
ต่ำแหน่งที่พบบ่อยที่สุดคือ
กระดูกต้นแขนหัก
กระดูกหักพบมากทางซีกซ้ายมากกว่าทางซีกขวา
อาการ
อาการปวดและกดเจ็บ
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
รอยจ้้าเขียว
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การติดของกระดูกเด็ก
collagen fiber,เซลล์สร้างกระดูก osteoclastรวมเรียกสิ่งที่สร้างขึ้นว่าcallus
ถ้าเชื่อมระหว่างคอร์เทกซ์ด้านนอกเรียกว่า external callus ถ้าเชื่อมด้านในเรียกว่า endocallus
หลังกระดูกหักเนื้อเยื่อที่ถูกท้าลายจะมีการรวมตัวของก้อนเลือดตรงต้าแหน่งปลายหักของกระดูกเพื่อเป็นฐานท้าให้เกิดการสร้างเนื้อเยื่อใหม่ (granulation tissue) 8 ชั่วโมง จะมีปฏิกิริยาการอักเสบอย่างเฉียบพลัน
กระดูกที่สร้างขึ้นใหม่จะเกิดขึ้นภายหลังกระดูกหักประมาณ 48 ชั่วโมงและจะใช้เวลาในการเชื่อมกระดูกหักประมาณ 6-7 วัน
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ : เกี่ยวกับอุบัติเหตุ
การตรวจร่างกาย : ตรวจเหมือนเด็กทั่วไปและให้ความสนใจต่อส่วนที่ภยัตราย
การตรวจพบทางรังสี
การรักษา
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรค
เป้าหมายการรักษา
ลดความเจ็บปวด
จัดกระดูกให้เข้าที่เเละดามกระดูก
ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
ให้อวัยวะนั้นกลับทำงานได้เร็วที่สุด
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิด
มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทำคลอด
สอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
ส่วนในเด็กโต
อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอก
กระแทกพื้นโดยตรงจะพบหัวไหล่บวม ช้้า เวลาจับไหล่
ในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมากๆควรตรึงแขนด้วย traction ตรึงไว้นานประมาณ 3 สัปดาห์ อาจท้า skin traction
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
อาการ
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ90 องศา ให้ติดกับลำตัว พันนาน 10-14 วัน ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture)
พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย
พบบ่อยในเด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียนโรคแทรก
ซ้อนที่อาจเกิดขึ้น“ Volkman’s ischemic
contracture ”
การเคลื่อนของหัวกระดูก
เรเดียส(Transient subluxation of radial head
เป็นการเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึง
วัยรุ่น
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
ตำแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของ
กระดูกต้นขา เด็กจะปวด
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับ
บาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
เข้าเฝือกปูน
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
การดึงกระดูก (Traction)
ขณะดึงกระดูกควรจัดท่านอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของ
Traction
Bryant’s traction
Over Head traction
Dunlop’s traction
Skin traction
Russell’s traction
ผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORIF)
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
ด้านร่างกาย
การเตรียมผิวหนังเฉพาะที่
การดูแลความสะอาดของร่างกาย
การตรวจวัดสัญญาณชีพ
ด้านจิตใจ
ผู้ป่วยและญาติให้คำแนะนำเกี่ยวกับการผ่าตัดแก่ผู้ป่วย
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
pain scale
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจาก
การถูกจ้ากัดเคลื่อนไหว
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก
เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
Volkmann’s ischemic contracture
แขนอยู่ในท่าคว่ำมือ
ข้อศอกอาจจะงอ
ข้อมือพับลง
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
สาเหตุ
กล้ามเนื้อขากเลือดไปเลี้ยง มีเลือดไปเลี้ยงน้อย
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่เร็วที่สุด
อย่างอข้อศอกมากเกินไป
ใช้ Slab ใส่ทางด้านหลังของเเขนเเล้วพันด้วยผ้าพันธรรมดา
โรคที่พบ
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
คลำพบก้อนกล้ามเนื้อคอข้างที่เอียง
การรักษา
การยืดโดยวิธีดัด
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง
การใช้อุปกรณ์พยุง
การผ่าตัด
polydactyly
การรักษา
การผ่าตัด
syndactyly
การรักษา
ผ่าตัด
เเทรกซ้อน
polydactyly preaxial
Kyphosis
กระดูกสันหลังคด(Scoliosis)
การเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง การอัมพาตของกล้ามเนื้อท้า
ให้กระดูกเจริญเติบโตน้อย
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : การผ่าตัด ความพิการ
การตรวจร่างกาย : สังเกตความพิการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษ: X-Ray
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น
การรักษา
แบบอนุรักษ์นิยม
กายภาพบำบัด
การผ่าตัด
Lordosis
่
นางสาวณิชาภัทร ขัติยะ ชั้นปีที่ 2 ห้องB เลขที่ 24 รหัสนักศึกษา 613601132