Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมบน พื้นฐานทฤษฎีการดูแลด้วยความ เอื้ออาทรแก่บุคคลที่มีปั…
การพยาบาลแบบองค์รวมบน พื้นฐานทฤษฎีการดูแลด้วยความ เอื้ออาทรแก่บุคคลที่มีปัญหา สุขภาพจิตและจิตสังคม
ผู้ที่มีความวิตกกังวล/เครียด
ผู้ที่มีความวิตกกังวล
ความหมาย
ความรู้สึกไม่สบาย สับสน กระวนกระวายต่อสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งที่เกรงว่าจะเกิดอันตราย หรือความเสียหายซึ่งอาจเกิดขึ้นจริงหรือคิดขึ้นเอง ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงท้ัง ร่างกายและพฤติกรรม
สาเหตุ
ทางด้านชีวภาพ
ด้านกายภาพของระบบประสาท
ด้านชีวเคมี
ด้านการเจ็บป่วย
ทางด้านจิตสังคม
ด้านจิตวิเคราะห์
ด้านพฤติกรรมและการรู้คิด
ทางด้านสังคม
จากทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความวิตกกังวลเกิดจากสัมพันธภาพระหว่างบุคคลไม่ดี
ความวิตกกังวลก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของบุคคล
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจและอารมณ์
การเปลี่ยนแปลงด้านสติปัญญา
ประเภท ของความวิตกกังวล
ความวิตกกังวลเฉียบพลัน
ความวิตกกังวลเรื้อรัง
วิตกกังวลปกติ
ระดับของความวิตกกังวล
ความวิตกกังวลต่ำ
ความวิตกกังวลรุนแรง
ความวิตกกังวลปานกลาง
ความวิตกกังวลรุนแรงสูงสุด
ผู้ที่มีความเครียด
ความหมาย
ปฏิกริยาตอบสนองของร่างกาย และ จิตใจที่มีต่อสิ่งกระตุ้น (Stressor) และบุคคลนั้นได้ ประเมินแล้วว่าสิ่งกระตุ้นนั้นคุกคาม หรือทำให้ ตนเองรู้สึกไม่มั่นคงปลอดภัย
สาเหตุ
สาเหตุภายนอกตัวบุคคล
สาเหตุภายในตัวบุคคล
ปฏิกริยาตอบสนองเมื่อเกิดความเครียด
การตอบสนองด้านร่างกาย
ระยะเตือน
ระยะช็อก
ระยะตอบสนองการช็อก
ระยะการต่อต้าน
ระยะหมดกำลัง
การตอบสนองด้านจิตใจ
หนีหรือเลี่ยง
ยอมรับและเผชิญกับความเครียด
เรียนรู้ที่จะอยู่กับความเครียด
Level of Stress
Mild Stress
Moderate Stress
Severe Stress
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความวิตกกังวล/เครียด
วิตกกังวลเนื่องจากไม่สามารถแก้ปัญหาได้/รับรู้ว่าถูกคุกคาม
มีความรู้สึกหวาดกลัวอย่างมากจากการคิดล่วงหน้าว่าอาจมีอันตรายเกิด ขึ้นกับตน
มีการเผชิญปัญหาไม่เหมาะสมเนื่องจากรู้สึกหวาดหวั่นกังวลใจ
ถูกบีบคั้นทางจิตใจเนื่องจากรู้สึกว่าถูกคุกคามความปลอดภัยในชีวิต
ผู้ที่ประสบภาวะสูญเสีย เศร้าโศก
ผู้ที่ประสบภาวะสูญเสีย
ความหมาย
สภาพการณ์ที่บุคคล ต้องแยกจากสูญหายหรือปราศจากบางสิ่งบางอย่าง ที่เคยมีอยู่ในชีวิต ซึ่งอาจเกิดขึ้นทันทีทันใด หรือค่อยเป็นค่อยไป
ประเภทของการสูญเสีย
การสูญเสียความสมบูรณ์ทางสรีระ จิตใจและ สังคม
การสูญเสียบุคคลสำคัญของชีวิต
การสูญเสียสมบัติหรือความเป็นเจ้าของ
การสูญเสีย ๕ ลักษณะ ตามลำดับขั้นของมาสโลว์
การสูญเสียทางด้านร่างกาย
การสูญเสียความมั่นคง และความรู้สึกเป็นเจ้าของ
การสูญเสียความปลอดภัย
การสูญเสียความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง
การสูญเสียที่สัมพันธ์กับการบรรลุถึงความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
ปฏิกิริยาต่อการสูญเสียของบุคคล ๓ ระยะ
ระยะช็อก
ระยะพัฒนาการตระหนักรู้ถึงการสูญเสีย
ระยะพักฟื้น
ผู้ที่ประสบภาวะเศร้าโศก
ความหมาย
ความรู้สึกเสียใจ ที่เกิดขึ้นเมื่อคาดว่าจะมีการสูญเสียหรือรับรู้ว่าตนเอง สูญเสีย
Elisabeth และ Kubler-Ross
โกรธ
ต่อรอง
ซึมเศร้า
ยอมรับ
ปฏิเสธ
กระบวนการเศร้าโศกปกติ
ระยะแรก (ระยะเฉียบพลัน)
ระยะที่สอง (ระยะเผชิญกับการสูญเสีย)
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะสูญเสีย/เศร้าโศก
ขาดทักษะในการเผชิญปัญหาเมื่อต้องสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
มีความรู้สึกผิดและโทษตนเองว่าเป็นสาเหตุของการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าจากการสูญเสีย
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าอย่างมากจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
ผู้มีภาวะซึมเศร้า
ความหมาย
การที่บุคคลมีพฤติกรรมที่เกิดจากภาวะจิตใจที่หม่นหมอง หดหู่ เศร้า ท้อแท้ หมดหวัง และมองโลกในแง่ร้ายซึ่งพฤติกรรมเศร้าเหล่านี้เกิดขึ้น ในช่วงระยะเวลาที่ยาวนาน และกระทบกระเทือนต่อวิถี การดำเนินชีวิตปกติ
กลไกการป้องกันตนเองในบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้า
การสะท้อนเข้าสู่ตนเอง
การสะท้อนไปสู่บุคคลอื่น
การถดถอย
ระดับความรุนแรงของพฤติกรรมซึมเศร้า
Moderate Depression
Severe Depression
Blue Mood
กลไกการเกิดภาวะซึมเศร้า
แนวคิดด้านกลไกของจิตใจ
อธิบายว่าผู้ที่มีพฤติกรรมซึมเศร้า มีสาเหตุสำคัญมาจากความเจ็บปวดที่เกิดจากการสูญเสีย
แนวคิดด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพทางชีวเคมีในร่างกาย
ผู้ที่มีพฤติกรรมซึมเศร้าเกิดจากการลดน้อยลงของสารจำพวกBiogenic Amines ในระบบประสาทส่วนกลาง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้า
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าในระดับรุนแรง
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำเนื่องจากเคยมีประวัติการฆ่าตัวตายมาแล้ว ๑ ครั้ง
นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าในระดับรุนแรง
ขาดทักษะในการเผชิญปัญหาต่างๆของชีวิต เนื่องจากคิดว่าตนเองไร้ค่าและ ไม่มีความหมาย
ผู้ที่มีภาวะวิกฤติทางอารมณ์
ความหมาย
ภาวะที่บุคคลเผชิญปัญหาและแก้ไขปัญหานั้น ไม่ได้ทำให้เกิดความเครียด กดดัน วิตกกังวล สิ้นหวัง ไม่ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เหมือนเดิม
ความรู้สึกและปฏิกิริยาตอบสนองต่อภาวะวิกฤติ
มีความรู้สึกผิด และละอาย
ความโกรธ
มีความรู้สึก หมดหนทาง
มีความวิตกกังวล
ลำดับขั้นตอนของภาวะวิกฤติ
ระยะวิกฤติ
ระยะหลังภาวะวิกฤติ
ระยะก่อนวิกฤติ
ประเภทของภาวะวิกฤติ
พัฒนาการวิกฤติหรือวัยวิกฤติ (Maturation crisis) หมายถึง เหตุการณ์วิกฤติที่เกิดขึ้นตามช่วงวัยต่างๆของกระบวนการเจริญเติบโต สามารถเตรียมการ และรับมือล่วงหน้าได้
ภาวะวกิฤติจากภัยพิบัติธรรมชาติ (Adventitious crisis) เช่น ไฟ ไหม้บ้าน อุทกภัย
สถานการณ์วกิฤติ (Situational crisis) เกิดขึ้นเมื่อเหตุการณ์ภายนอก ทำให้อารมณ์ไม่ดีเสียความสมดุลของจิตใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤติ
เสี่ยงต่อภาวะเส้นเลือดในสมองแตกเนื่องจากมีความดันโลหิตสูงขึ้นสัมพันธ์กับ สถานการณ์วิกฤติของตนเอง และครอบครัว
วิธีการเผชิญปัญหาขาดประสิทธิภาพ เนื่องจากรู้สึกผิด และคิดว่าตนเองไร้ค่า
เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเองเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าอย่างรุนแรงจากสถานการณ์ วิกฤติของชีวิต
แบบแผนการนอนหลับพักผ่อนเปลี่ยนแปลงจากการมีความเครียดสูงต่อ สถานการณ์วกิฤติของชีวิต
ผู้ที่มีปัญหาฆ่าตัวตาย
ความหมาย
การมีความคิดอยากทำร้าย ตนเองเนื่องจากมีความรู้สึกหมดหวังในชีวิต หรือจากสาเหตุอื่น
ประเภทของการฆ่าตัวตาย
การฆ่าตัวตายแบบคุกคาม
การฆ่าตัวตายสำเร็จ
การพยายาม ฆ่าตัวตายการฆ่าตัวตายแบบประท้วง
สาเหตุที่ทำให้คนฆ่าตัวตาย
ปรับตัวต่อความตึงเครียดที่ท่วมท้นไม่ได้
รู้สึกหมดหวัง หมดหนทาง
ระยะสุดท้ายของการเจ็บป่วยหรือการเจ็บป่วยเรื้อรัง
กระบวนความคิดผิดปกติ เช่น หลงผิด ประสาทหลอน
กลุ่มบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการฆ่าตัวตาย
บุคคลที่ตกงาน ขาดรายได้ ขาดความภาคภูมิใจในตนเอง
บุคคลที่อยู่ตัวคนเดียว
ชนกลุ่มน้อยที่มีความรู้สึกด้อย ช่วยตนเองได้น้อย
บุคคลที่ทำงานภายใต้ภาวะกดดัน และรับผิดชอบสูง
บุคคลที่เคยพยายามฆ่าตัวตายมาแล้ว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะฆ่าตัวตาย
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าในระดับรุนแรง และเคยมีประวัติการฆ่าตัวตาย
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเนื่องจากรู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่า และใช้กลไกการเผชิญปัญหาไม่เหมาะสม
นางสาวสุชัญญา ศรีสุขใส เลขที่67