Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมดลูกปลิ้น(Inversion of the uterus/uterine inversion) - Coggle Diagram
ภาวะมดลูกปลิ้น(Inversion of the uterus/uterine inversion)
ความหมาย
มดลูกปลิ้น คือ ภาวะที่มดลูกรั้งลงมาส่วนล่างของโพรงมดลูก
ชนิดของมดลูกปลิ้น
2.มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์(Complete inversion)
ยอดมดลูกเคลื่อนพ้นปากมดลูก แต่ยังไม่พ้นปากช่องคลอด
3.มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์ และเคลื่อนต่ำลงมานอกปากช่องคลอด(Prolapsed of complete inverted uterus)
1.มดลูกปลิ้นแบบไม่สมบูรณ์(Incomplete inversion)
ยอดมดลูกเคลื่อนต่ำลง แต่ยังไม่พ้นปากมดลูก
พยาธิสภาพ
เมื่อเกิดการปลิ้นของมดลูกภายหลังทารกคลอดหรือหลังคลอดรกแล้ว ปากมดลูกและมดลูกส่วนล่าง จะมีการหดรัดตัวเป็นวงแหวนล้อมรอบส่วนของมดลูกที่หย่อนตัวลงมา ทำให้บริเวณที่ถูกรัดไว้นั้นขาดเลือดไปเลี้ยง เกิดการบวมและมีเนื้อตาย และเนื้อตายนั้นจะหลุดออกมา
สาเหตุ
4.ดันยอดมดลูกที่หน้าท้องมารดามากเกินไป ในการช่วยทำคลอดรก
5.มดลูกและปากมดลูกอยู่ในภาวะคลายตัว
6.สาเหตุส่งเสริม
มีพยาธิสภาพที่มดลูก
ผนังมดลูกหย่อน
3.ทำคลอดรกในขณะที่รกยังไม่ลอกตัว หรือรกเกาะแน่น
2.การดึงสายสะดือแรงเกินไป
1.รกเกาะบริเวณส่วนยอดของมดลูก
อาการและอาการแสดง
3.มีอาการช็อคจากการปวด และการเสียเลือด
4.ตรวจหน้าท้องในรายที่มดลูกปลิ้นไม่สมบูรณ์ พบยอดมดลูกเป็นแอ่ง หรือคล้ายปล่องภูเขาไฟ ส่วนในรายที่มดลูกปลิ้นสมบูรณ์ จะคลำไม่พบยอดมดลูก
2.ปวดท้องอย่างรุนแรง ถ้ารกยังไม่ลอกตัว หรือรกเกาะแน่น
5.ตรวจภายใน จะคลำได้ก้อนเนื้อบริเวณปากมดลูกหรือคลำได้ก้อนในช่องคลอด
1.มีเลือดออกมาทันทีหลังคลอด ในกรณีที่รกคลอดแล้ว
การรักษา
3.ดันมดลูกกลับภายใต้การดมยาสลบ โดยใช้ฮาโลเธน(Halothane)
4.ถ้ารกลอกตัวแล้วให้เริ่มทำการดันมดลูกกลับได้ทันที
2.ให้การรักษาสภาพทั่วไป
ให้เลือด
ฉีดมอร์ฟีนระงับปวด
ให้สารน้ำ
5.เมื่อดันเข้าที่แล้วให้ Oxytocin ทันที
1.การป้องกันสิ่งที่สำคัญที่สุด
การช่วยเหลือการคลอดรกอย่างถูกวิธี
การตรวจภายในหลังจากคลอดรก และหลังเย็บแผล
6.ในกรณีที่ไม่สามรถดันกลับคืนได้ต้องผ่าตัดทางหน้าท้องช่วยทันที
7.ให้ยาป้องกันการติดเชื้อ และให้ยากลุ่มธาตุเหล็กรักษาภาวะเลือดจาง
ผลกระทบ
มารดา
เลือดออกอย่างรุนแรง เจ็บปวดมาก
ช็อคจากเสียเลือด
ทารก
ได้รับความอบอุ่นจากมารดาล่าช้า
การเสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกล่าช้า
การพยาบาล
1.ป้องกันการเกิดภาวะมดลูกปลิ้น
ห้ามดึงสายสะดือ
ก่อนทำคลอดรก ต้องตรวจสอบว่ารกมีการลอกตัวสมบูรณ์แล้วทุกครั้ง
ในการช่วยทำคลอดรก เมื่อรกคลอดออกมาแต่เยื่อหุ้มรกยังค้างอยู่ ผู้ทำคลอดรกควรคลำยอดมดลูกว่าหดรัดตัวแข็ง ก่อนที่จะดึงรกเพื่อรั้งให้เยื่อหุ้มรกส่วนที่เหลือลอกออกมา
หลังทำคลอดรก คลึงมดลูกให้กลมแข็ง ป้องกันการตกเลือด
2.ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำและ/ให้เลือด ป้องกันภาวะช็อคจากการเสียเลือด
รายงานแพทย์เพื่อดันมดลูกกลับ
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลมดลูกที่ปลิ้นออกมาให้ชุ่มชื้นไม่แห้ง
สังเกตภาวะช็อค
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
2.มารดามีโอกาสตกเลือดหรือช็อค เนื่องจากมีภาวะมดลูกปลิ้น
เกณฑ์การประเมินผล
สัญญาณชีพปกติ
ไม่มีอาการแสดงของภาวะตกเลือด
กิจกรรมการพยาบาล
2.บันทึกV/S ทุก 1 ชม.
3.ตรวจปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
1.ให้สารน้ำหรือเลือดทดแทนตามแผนการรักษาของแพทย์
4.รายงานแพทย์ เพื่อดันมดลูกกลับหรือผ่าตัดมดลูก
5.บันทึกปริมาณปัสสาวะที่ออก
6.สังเกตอาการและอาการแสดง เช่น หน้ามืด ใจสั่น เหงื่อออก ตัวเย็น ชีพจรเบาเร็ว BPต่ำ รายงานแพทย์
วัตถุประสงค์
ไม่มีภาวะตกเลือดหรือช็อค
3.มารดาปวดมดลูกมาก เนื่องจากมดลูกปลิ้น
เกณฑ์การประเมินผล
มารดาไม่แสดงอาการปวดมดลูกมาก
มารดาไม่เกิดอาการช็อคจากความเจ็บปวด
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
2.สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะช็อคจากความเจ็บปวดที่รุนแรง รายงานแพทย์
วัตถุประสงค์
ลดอาการปวดมดลูก
1.มารดามีโอกาสเกิดมดลูกปลิ้น เนื่องจากทำคลอดรกไม่ถูกวิธี และ/หรือการฝังตัวของรกแน่นกว่าปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
2.คลึงมดลูกให้แข็งก่อนช่วยคลอดรก และเมื่อรกคลอดออกมาแต่ยังมีเยื่อหุ้มรกค้างอยู่ ผู้ทำคลอดคลำยอดมดลูกว่าแข็ง ก่อนดึงรกเพื่อรั้งให้เยื่อหุ้มรกส่วนที่เหลือคลอดออกมาหมด
3.หลังคลอดรกคลึงให้มดลูกหดรัดตัวแข็งเสมอ
1.ตรวจสอบอาการแสดงการลอกตัวของรกอย่างสมบูรณ์
4.ประเมินลักษณะมดลูก โดยคลำยอดมดลูกบริเวณหน้าท้อง
เกณฑ์การประเมินผล
คลำยอดมดลูกได้ลักษณะกลมแข็ง
บริเวณหน้าท้องไม่มีลักษณะเป็นแอ่ง และตรวจภายในไม่พบก้อนเนื้อมดลูก
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดภาวะมดลูกปลิ้น
4.มารดาและครอบครัวมีความวิตกกังวลและกลัว เนื่องจากภาวะมดลูกปลิ้น
เกณฑ์การประเมินผล
สีหน้าสดชื่น
ไม่มีคำพูดแสดงถึงความวิตกกังวลหรือความกลัว
กิจกรรมการพยาบาล
1.อธิบายให้มารดาและครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับแผนการช่วยเหลือ
2.ให้การพยาบาลด้วยท่าทีที่เป็นมิตรและเต็มใจช่วยเหลือ
3.เปิดโอกาสให้มารดาและครอบครัวซักถามข้อสงสัย ระบายความรู้สึกโดยรับฟังอย่างตั้งใจ
วัตถุประสงค์
มารดาและครอบครัวคลายความวิตกกังวลและความกลัว