Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Depression in Elderly, อ้างอิง, ตรงกับแบบแผนสุขภาพที่?, นายคมกริช พาลุกา…
Depression in Elderly
กิจกรรมการพยาบาล
5.เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึกเครียดในตัวผู้ป่วยเองออกมาโดยแสดงสีหน้าท่าทางตั้งใจฟังเข้าใจไม่ตำหนิและอาจใช้การสัมผัสร่วมด้วยเพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกปลอดภัยกล้าพูดกล้าแสดงออกและมั่นคงและอบอุ่นใจ
-
4.สนับสนุนให้ได้การกิจกรรมหรือกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง เช่นไปทำกิจกรรมกับเพื่อนบ้านอย่างสม่ำเสมอจะได้สร้างสัมพันธภาพและลดความเครียด
7.ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีการแสดงออกของพฤติกรรมอย่างเหมาะสมโดยจัดให้ผู้ป่วยโดยการเข้าร่วมกลุ่มกิจกรรมบ้าบัดและมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ให้ผู้ป่วยเกิดสัมพันธภาพที่ดีทางสังคมและเห็นคุณค่าใน ตัวเอง
-
8.ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับโรคการรักษาและการดูแลตนเองเพื่อให้มีความรู้ในการดูแลตนเองและให้ความร่วมมือในการรักษา
-
-
1.สร้างสัมพันธภาพเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ ให้เห็นว่าพยาบาลพร้อมให้การช่วยเหลือเข้าใจความรู้สึกของผู้ป่วย
-
แนวทางในการแก้ไขปัญหา
-
-
-
4.ควรพาผู้ป่วยออกไปเดินเล่นกับเพื่อนบ้านใหม่เป็นประจำเพื่อสร้างสัมพันธภาพผู้ป่วยจะได้คุ้นชินกับสถานที่ใหม่
-
ข้อมูลสนับสนุน
-
S: “ก่อนหน้านั้นสามีเคยพูดกับตนเองว่าอยากจะยิงตัวตายแต่ตนเองก็ไม่เคยคิดว่าสามีจะทำจริงเพราะสามีเป็นคนกลัวตาย”
S: “ซึ่งคาดว่าสามีคงจะคิดมากประกอบกับพึ่งย้ายมาอยู่ใหม่จึงยังไม่ค่อยรู้จักเพื่อนบ้านทำให้เครียดจนอาจจะเป็นสาเหตุทำให้ตัดสินใจคิดสั้นในครั้งนี้”
A: อาการซึมเศร้าในผู้สูงอายุมักไม่ค่อยตรงไปตรงมา มีตั้งแต่เศร้าเล็กน้อย อารมณ์ไม่แจ่มใส ไปจนถึงรุนแรงมากจนกระทั่งเป็นโรคหรือมีอาการจิตเวชร่วมด้วย ดังนั้นหากคนไข้ไปพบแพทย์ในขั้นที่เป็นรุนแรงมาก มีอาการหลอนทางจิต หรือขนาดคิดฆ่าตัวตาย แต่กลุ่มคนที่มีอาการซึมเศร้าแต่ไม่แสดงออก อาจมีเพียงจิตใจไม่แจ่มใส ความสามารถในการดำเนินชีวิตลดลง ซึ่งส่วนใหญ่ไม่สามารถสังเกตได้อย่างชัดเจน จะถูกปล่อยปละละเลยจนกลายเป็นอันตรายในที่สุดซึ่งผู้ป่วยรายนี้มันคุ้นชินกับการเข้ามาอยู่ในสถานที่ใหม่ทำให้เกิดอาการเครียดประกอบกับโรคซึมเศร้าที่เป็นอยู่จึงก่อให้เกิดการทำร้ายตัวเอง
-
-
ที่มาข่าว
-
สาเหตุ
:warning:ภรรยา เล่าให้ฟังว่าสามีของตนเองล้มป่วยเป็นโรคซึมเศร้ามานานกว่า 10 ปี แล้ว โดยเข้ารักษาอาการที่โรงพยาบาลในจังหวัดสระบุรี และกินยารักษาอยู่ตลอดไม่เคยขาดก่อนที่จะย้ายมาอยู่กับครอบครัวของลูกสาวที่ปลูกบ้านให้ใหม่ได้ประมาณ 1 เดือนเศษ ซึ่งก่อนหน้านั้นสามีเคยพูดกับตนเองว่าอยากจะยิงตัวตายแต่ตนเองก็ไม่เคยคิดว่าสามีจะทำจริงเพราะสามีเป็นคนกลัวตายโดยก่อนเกิดเหตุตนเองตื่นมาแต่เช้ามืดได้เข้าครัวทำอาหารระหว่างที่กำลังทำอาหารก็ไม่ได้ยินเสียงปืนเมื่อมาเปิดดูก็พบว่าสามียังนอนอยู่แต่ไฟฉายเปิดทิ้งไว้แต่ตนเองก็ไม่ได้คิดอะไร จนเมื่อลูกสาวกลับมาได้เข้าไปดูพร้อมกับหลานชาย พบว่า นาย นามสมมุติ ได้ใช้อาวุธปืนขนาด 9 มิลลิเมตรของตนเองยิงกรอกปากนอนหายใจรวยรินอยู่บนที่นอน ทั้งที่ก่อนหน้านี้ลูกสาวได้นำปืนไปซ่อนไว้ในที่ปลอดภัยแต่ไม่รู้ว่าสามีไปหาเจอได้อย่างไร:fire: ซึ่งคาดว่าสามีคงจะคิดมากประกอบกับพึ่งย้ายมาอยู่ใหม่จึงยังไม่ค่อยรู้จักเพื่อนบ้านทำให้เครียดจนอาจจะเป็นสาเหตุทำให้ตัดสินใจคิดสั้นในครั้งนี้ :fire:
-
-
อ้างอิง
-
https://www.samitivejhospitals.com/th/
-
4.สุชาติ พหลภาคย์. (2542). ความผิดปกติทางอารมณ์. พิมพ์ครั้งที่1. ขอนแก่น : โรงพิมพ์ศิริภัณฑ์ออฟเซ็ท.
5.ฉวีวรรณ สัตยธรรม. (2556). การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต(ฉบับปรับปรุง) เล่ม 1. นนทบุรี: โครงการสวัสดิการวิชาการสถาบันพระบรมราชชนก.
2.ภาควิชาการพยาบาลจิตเวชศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย.(2457). การพยาบาล
สุขภาพจิตและจิตเวช. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
-
-