Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด(Amniotic fluid embolism /AFE) - Coggle…
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด(Amniotic fluid embolism /AFE)
ความหมาย
ภาวะที่มีน้ำคร่ำผ่านเข้าสู่กระแสเลือดของมารดาซึ่งจะเข้าไปในหลอดลมฝอยในปอดทำให้ไปอุดกั้นบริเวรหลอดเลือดดำที่ปอดทำให้ร่ายกายเกิดปฏิกิริยาต่อต้านสารประกอบในน้ำคร่ำ
โดยปฏิกิริยาต่อต้านทำให้เกิดภาวะล้มเหลวของการทำงานของระบบหายใจ ระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต ระบบการแข็งตัวของเลือด ช็อคและอาจเสียชีวิตได้
เป้นภาวะฉุกเฉินทางการคลอดที่มีลักษณะเฉพาะ
2.ภาวะขาดออกซิเจน(hypoxia)
3.ภาวะความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด(Consumptive coagulopathy)
1.ภาวะความดันโลหิตต่ำ (hypotension) อย่างทันทีทันใด
อาการและอาการแสดง
ชัก
หมดสติและอาจเสียชีวิต
ความดันโลหิตต่ำมาก
ถ้าเกิดอาการนานกว่า 1ชม.ผู้คลอดยังมีชีวิตอยู่จะเกิดภาวะกลไกการแข้งตัวของเลือดเสียไปและเกิดอาการตกเลือดอย่างรุนแรงหากไม่ได้รับการแก้ไขภาวะการหดรัดตัวของมดลูกที่ดีพอ
เกิดภาวะน้ำคั่งในปอด
มีอาการหนาวสั่น
เส้นเลือดที่หัวใจตีบ
เหงื่ออกมาก
คลื่นไส้อาเจียน วิตกกังวล
หายใจลำบาก
ปัจจัยส่งเสริม
มารดามีบุตรหลายคน
การผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
น้ำคร่ำมีขี้เทาปนมารดาตั้งครรภ์หลังที่มีอายุมากกว่า 35 ปี
การบาดเจ็บในช่องท้อง
การเบ่งคลอดขณะถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
มดลูกแตก
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
การรูดเพื่อเปิดขยายของปากมดลูก
การคลอดเฉียบพลัน
การตรวจวินิจฉัยน้ำคร่ำก่อนกำหนด
ทารกตายในครรภ์เป็นเวลานาน
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายในและภายนอกครรภ์
การเร่งคลอดโดยการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ผลกระทบ
ต่อทารก
ในรายที่มารดาที่หัวใจและปอดหยุดทำงานโอกาสรอดของทารกมีค่อนข้างน้อย
ต่อมารดา
ทำให้ผู้คลอดเสียชีวิตจากการเสียเลือด
การป้องกัน
1.ขณะเจ็บครรภ์คลอด ไม่ควรเร่งให้มดลูกหดรัดตัวถี่เกินไป
2.การเจาะถุงน้ำคร่ำคสรทำอย่างระมัดระวัง ไม่ให้ถูกปากมดลูก
6.ถ้าผู้คลอดเจ็บครรภ์ถี่มากเกินกำหนด ผู้คลอดพักได้น้อยควรรายงานแพทย์เวรทราบทุกครั้ง
3.การกระตุ้นการเจ็บครรภืในรายที่เด็กตายในครรภ์ดดยใช้Oxytocin drip ควรทำอย่างระมัดระวังดูอาการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิดและไม่ควรเจาะถุงน้ำก่อนปากมดลูกเปิดหมด
4.ไม่ควรกระตุ้นการเจ็บครรภ์โดยวิธีเลาะแยกเยื่อถุงน้ำคร่ำ(Stripping membranes)จากคอมดลูก
5.ในรายที่มีภาวะรกเกาะต่ำการตรวจภายในควรจะกระทำอย่างระมัดระวัง
การรักษา
1.ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
2.ดูแลระบบการไหลเวียนเลือด
3.ดุแลการหดรัดตัวของมดลูก
6.เจาะเลือด
7.รักษาภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ(DIC)โดยให้ยาHeparin
4.ประเมินFHS และรีบให้การช่วยเหลือโดยการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องอย่างเร่งด่วน
8.ประเมินการเสียเลือดทางช่องคลอด
5.เตรียมยาในการช่วยชีวิตผู้คลอดถ้ามีความดันโลหิตต่ำ
การพยาบาล
1.เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
2.ถ้ามีอาการชักเกร็ง มีภาวะเขียวทั่วทั้งตัวหรือเริมเขียวเป็นบางส่วนของร่างกาย
เฝ้าระวังการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
ให้สารน้ำและเลือดตามแผนการรักษา
เตรียมช่วยเหลือการคลอดโดยคีมหรรือผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ให้ออกซเจน
เตรียมช่วยฟื้นคืนชีพในรายที่เกิดหัวใจล้มเหลว
ใช้เครื่องช่วยหายใจใน 2-3วันแรก ภายใต้การดูแลในหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก
จัดให้มารดานอนในท่า fowler
ดูแลและให้กำลังใจต่อครอบครัวถ้ามารดาและทารกเสียชีวิต