Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก, ชนิษฐา นามบุตร เลขที่17A 613601018 -…
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหัก
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกัรเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง
ข้อเคลื่อน
การเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่
สถิติกระดูกหัก
อายุ
12-15ปี
เพศ
เพศชาย
สาเหตุการจากหกล้ม
ตำแหน่ง
กระดูกต้นแขน
กระดูกมักหักจากซีกซ้ายมาทางขวา
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดกดเจ็บ
บวมเนื่องจากมีเลือดออก
รอยจ้ำเขียว
ลักษณะผิดรูป
ข้อยกเว้นการรักษาแบบการผ่าตัด
กระดูกมีแผลเปิด
กระดูกหักผ่านข้อ
กระดูกหักจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ
กระดูกหักในเด็กตามการแบ่งของsalter
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
ลักษณะของกระดูกหัก
ลักษณะของข้อเคลื่อน
การตรวจพบทางรังสี
การรักษา
แก้ไขภาวะฉุกเฉิน
ทางเดินหายใจ
การเสียเลือด
หลักการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหรือข้อได้รับบาดเจ็บเพิ่ม
แก้ไขปัญหา
เป้าหมายการรักษา
ลดความเจ็บปวด
จัดกระดูกและดามกระดูกให้มีแนวกระดูก
กระดูกที่เข้าดีที่ติดเร็ว
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก
อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis
crepitus
ปวดบวม
การรักษา
ตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้งอข้อศอกงอ90องศาให้ติดกับลำตัว10-14วัน อายุมากกว่าสามปีใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอแขนข้อศอกงอ90องศานาน2-3สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก
เด็กเล็ก
เกิดจากในรายที่คลอดจิดไหล่แล้วผู้ทำคลอดสอดนิ้วเกี่ยวออกมา
เด็กโต
การล้ม
กระดูกข้อศอกหัก
การหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าศอกเหยียดตรง
การเคลื่อนหักของกระดูกเรเดียส
เกิดจากการดึงแขนหรือหิ้วแขนเด็กออกมาตรงๆในขณะที่ข้อศอกเหยียดแฃะแขนท่อนปลายคว่ำมือ
กระดูกปลายแขนหัก
หกล้มเอามือเท้าพื้น
ตกจากที่สูง
กระดูกต้นขาหัก
ช่วงกลางของกระดูกต้นขา
แก้โดยใส่เฝือกขา
ถ้าเคลื่อนจากกันมากๆ
Gallow's
อันตรายต่อข่ายประสาทbrachial plexusจากการคลอด
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด
การวินิจฉัย
แขนเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าปกติ
การรักษา
สามารถฟื้นตัวได้เอง
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม
การพยาบาล
ประเมินลักษณะการที่ได้รับบาดเจ็บจากการสังเกต การคลำ
การเคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่ง
เข้าเฝือกปูน
จัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน24ชม.จาก 5P
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
การดึงกระดูก
ฺBryant's
over head/skeletal
dunlop's
skin
Russell's
ORIF
การเตรียมก่อนการผ่าตัด
เตรียมผิวหนังเฉพาะที่
ดูแลทำความสะอาดร่างกาย
V/S
ประเมินอาการระบบประสาท
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ/เซ็นใบยินยอม
ให้คำแนะนำกับญาติผู้ป่วย
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ประเมินความรู้สึกตัวผลข้างเคียงการใช้ยา
ประเมินแผล
จัดท่าเด็กโดยยกส้วนที่ผ่าตัดสูงกว่าหัวใจ
การทำแผล
ประเมินความเจ็บปวด
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบกระตุ้นให้มีการออกกำลังกาย
เปลี่ยนที่เหมาะสมทุกสองชั่วโมง
ลดอาการท้องผูกมีการเคลื่อนไหว ดื่มน้ำ
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ
การพยาบาลป้องกันการติดเชื้อที่กระดูกเนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ทำความสะอาดแผลก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการลักษณะที่บ่งชี้ว่าติดเชื้อ
ดูแลให้ได้ยาปฏิชีวนะ
ดูแลอาหารเสริม
การพยาบาลลดความเครียดวิตกกังวลเมื่อรักษาตัวโรงพยาบาล
ประเมินความต้องการทางด้านจิตใจ
สร้างความมั่นใจ
จัดกิจกรรมและเปิดโอกาสให้ได้ระบาย
การพยาบาลบรรเทาอาการปวด
ประเมินระดับอาการปวด
จัดท่าให้ถูกต้อง
ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือสกินแทร็คชั่นพันแน่นเกินไปหรือไม่
ผู้ป่วยได้รับการยึดด้วย kirschner wire ผ่านผิวหนังออกข้างนอกเพื่อสะดวกในการถอดและหมั่นทำแผลจนกว่าจะถอด
การพยาบาลเมื่อผู้ป่วยกลับไปอยู่บ้าน
การดูแลผ่าตัดไม่ให้แผลเปียกหรือสกปรก
ห้ามผู้ป่วยหรือญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
สังเกตอาการผิดปกติ
ทานอาหารที่มีประโยชน์
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
Volkman's ischemic contracture
ลักษณะ
แขนอยู่ในท่าคว่ำมือ
ข้อศอกอาจจะงอ
ข้อมือพับลง
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
กล้ามเนื้อแขนลีบแข็ง
สาเหตุ
กล้ามเนื้อบริเวณ forearm ขาดเลือดไปเลี้ยง
ระยะ
ระยะเริ่มเป็น
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
วิธีการป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุด
อย่างอศอกมากจนเกินไป
ใช้slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพัน
โรคคอเอียงตั้งแต่กำเนิด
อาการ
คลำพบคอที่กล้ามเนื้อข้าคอด้านที่เอียง
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบิรเวณคอที่หดสั้น
การยืดโดยวิธีดัด
การยิดแบบให้เด็กหันศรีษะเอง
การผ่าตัด
polydactyly
สาเหตุ
กรรมพันธุ์
การรักษา
ผ่าตัด
syndactyly
ภาวะแทรกซ้อน
hallux varus
กระดูกสันหลังคด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การผ่าตัด
การตรวจร่างกาย
สังเกตความพิการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
x-ray
อาการ
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะเอวแขนไม่เท่ากัน
การรักษา
แบบอนุรักษ์นิยม
การผ่าตัด
การพยาบาล
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
บอกวิธีการพลิกตัวหลังการผ่าตัดโดยให้ไหล่และสะโพกพลิกไปพร้อมกัน
สอนการไอหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ
แนะนำการใช้หม้อนอน
ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ
แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว
ชนิษฐา นามบุตร เลขที่17A 613601018