Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ, นางสาวกรวดี ยิ่งยศกำจรชัย…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
พบได้มากในเด็กอายุ 6 เดือน – 3 ปี
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของล้าไส้ ดูดซึมแคลเซียมกลับได้น้อย ท้องเดินเรื้อรัง หรือ
รับประทานสารที่ขัดขวางการดูดซึมของแคลเซียมและวิตามินดี เช่น อะลูมิเนียมไฮดรอกไซค์ บาร์บิทูเรต
โรคไตบางชนิดท้าให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต เช่น Renal Tubular Insufficiency
และ Chronic renal Insufficiency
ภาวะฟอสเฟตต่้า (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline Phosphatase ซึ่งเป็นตัวส้าคัญที่ท้าให้เกิด
การจับเกาะของเกลือแร่
อาการและอาการแสดง
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น
ขวบปีแรก
กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลง หรือกะโหลก
นิ่ม หน้าผากนูน ฟันขึ้นช้า ผมร่วง
หลัง 1 ขวบ
พบขาโก่ง ขาฉิ่ง กระดูกสันหลังคด
หรือหลังค่อม ท่าเดินคล้ายเป็ด อาจเกิดกระดูกหักได้
การรักษา
แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ
การป้องกัน
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อวันต่อน้้าหนักตัวส้าหรับเด็กคลอดก่อนก้าหนด
ให้ออกก้าลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม เช่น ยากันชัก ยาลดกรด ยาเตรทตราชัยคลิน ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ
Bone and Joint infection
Definite (ติดเชื้อกระดูกอย่างแน่นอน) ตรวจพบเชื้อโรคจากกระดูกหรือเนื้อเยื่อติดกับกระดูกนั้นหรือผลตรวจ
ชิ้นเนื้อแสดงถึงการติดเชื้อ
Probable (น่าจะติดเชื้อที่กระดูก) การติดเชื้อในเลือด ร่วมกับลักษณะทางคลินิค และภาพรังสี
Likely (คล้ายติดเชื้อที่กระดูก) พบลักษณะทางคลินิคและภาพรังสีเข้าได้กับการติดเชื้อที่กระดูกตอบสนองดีต่อ
ยาปฏิชีวนะโดยที่ไม่พบเชื้อจากการเพาะเลี้ยง
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ
พบเชื้อที่เป็นสาเหตุ ถ้าไม่พบ Morrey กล่าวว่า ต้องมี อาการ 5 ใน 6 ดังนี้
อุณหภูมิร่างกาย > 38.3 องศาเซลเซียส
มีอาการปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
ข้อบวม
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่น ๆ ร่วม
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
Osteomyelitis
พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี พบมีการติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาวมากที่สุด เช่น femur , tibia ,
humerus มักเป็นต้าแหน่งเดียว
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย,เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก หรือจากอวัยวะใกล้เคียง การแพร่กระจายจากกระแสเลือด
การวินิจฉัย
1.ประวัติ มีอาการปวด เด็กเล็กแสดงออกโดยไม่ใช้แขน ขา ส่วนนั้นทารกนอนนิ่งไม่ขยับแขนขาข้างที่เป็น(pseudoparalysis) เด็กโตบอกต้าแหน่งที่ปวดได้ อาการไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร อาจมีการบาดเจ็บเฉพาะที่ร่วมด้วย
การตรวจร่างกาย มีปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่ บริเวณที่มีพยาธิสภาพอาจมีความผิดปกติ ปวด ปวดมากขึ้นถ้ากดบริเวณนั้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผล CBC พบ Leucocytosis , ESR , CRP มีค่าสูง ผล Gram stain และculture ขึ้นเชื้อที่เป็นสาเหตุ
การตรวจทางรังสี
Plain flim พบเนื้อเยื่อส่วนลึกบวม โดยเฉพาะบริเวณ metaphysis
Bone scan ได้ผลบวก บอกต้าแหน่งได้เฉพาะ
MRI (Magnatic resonance imaging) พบ soft tissue abcess , bone marrow edema ค่าใช้จ่ายสูง ในเด็กเล็ก ๆ ต้องท้าตอนเด็กหลับ
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ็อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก ท้าลาย physeal plate ยับยั้งการเจริญของกระดูกตามยาวท้าให้กระดูกส่วนนั้นสั้น มีการโก่งผิดรูปของกระดูก อาจต้องผ่าตัดเพื่อยืดกระดูกให้ยาวขึ้น
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่น จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจายจากบริเวณใกล้เคียงจากกระแสเลือด เชื้อที่เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ เช่น แบคทีเรีย
การวินิจฉัย
1.ลักษณะทางคลินิค มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อข้อ มักเป็นที่ ข้อเข่าข้อสะโพก ข้อเท้า รองลงมา ข้อศอก ข้อไหล่ ข้อมือ ข้อเล็ก ๆ เช่น ข้อนิ้ว
ผล Lab เจาะดูดน้้าในข้อ (joint aspiration) มาย้อม gram stain ผล CBC พบ ESR , CRP สูงขึ้นเล็กน้อย
การตรวจทางรังสี
Plain flim อาจพบช่องระหว่างข้อกว้าง
Ultrasound บอกถึงภาวะมีน้้าในข้อมาก หรือเคลื่อนหลุด
Bone scan / MRI ช่วยบอกถึงการติดเชื้อกระดูก
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด ได้แก่ Arthrotomy and drainage มีข้อบ่งชี้ เพื่อระบายหนอง หยุดยั้งการท้าลายข้อ และเพื่อได้หนองและชิ้นเนื้อในการส่งตรวจ
ภาวะแทรกซ้อน
1.Growth plate ถูกท้าลายท้าให้การเจริญเติบโตตามความยาวกระดูกและการท้าหน้าที่เสียไป
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
ข้อถูกท้าลาย (joint destruction)
หัวกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด (avascular necrosis)
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
ตำาแหน่งที่พบบ่อย
ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis
เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ จากการไอ จาม ของผู้ป่วย
อาการและอาการแสดง
กระดูกจะถูกทำลายมากขึ้น กระดูกจะบางลงหรือแตกนอกกระดูกเกิดเป็นโพรงหนองที่ไม่มีลักษณะการอักเสบหรือแตกเข้าสู่ข้อใกล้เคียง และจะท้าลายกระดูกอ่อนของผิวข้อ
ที่กระดูกสันหลังเชื้อจะเข้าทางท่อน้้าเหลืองจากต่อมน้้าเหลืองข้าง
กระดูกสันหลังหรือระบบไหลเวียนเลือด ท่อน้้าเหลืองจากกระดูกที่ติดเชื้อใกล้เคียง เชื้อจะท้าลายกระดูกสันหลัง
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้้าหนักลด มีไข้ต่้าๆ ตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้้าเหลืองโต ประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เป็นวัณโรค มีปวดข้ออาการขึ้นกับต้าแหน่งที่เป็นเช่น ที่ขาจะปวดขา เดินกะเผลก ข้อยึด กระดูกสัน
หลัง จะปวดหลัง หลังแข็งเดินหลังแอ่น กระดูกสันหลังยุบ กล้ามเนื้ออ่อนแรง อัมพาต ชาแขนขา
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก ค่า CRP , ESR สูง ทดสอบ tuberculin test ผล +
การตรวจทางรังสี
plaint film , MRI
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัดเพื่อแก้การกดทับเส้นประสาท
อาการแทรกซ้อนทางกระดูกและข้อ
กระดูกสันหลังค่อมหรืออาการกดประสาทไขสันหลัง จนอ่อนแรงหรือเป็นอัมพาต (Pott’s paraplegia) ปวดข้อ ผิวข้อขรุขระ ข้อเสื่อม ข้อยึดติด พิการ
Club Foot (เท้าปุก)
ลักษณะ
รูปร่างของเท้าที่มีลักษณะข้อเท้าจิกลง (equinus) ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus) ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิด
งุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
สาเหตุ
แบบทราบสาเหตุ
1.1 positional clubfoot เกิดจาก uterus impaction affect
1.2 teratologoc clubfoot เป็นชนิดที่มีความแข็งมาก พบใน Syndrome หลายชนิดเช่น multiplex congenita
1.3 neuromuscular clubfoot พบได้ทั้งแบบเป็นตั้งแต่เกิด / ภายหลัง เช่นใน cerebral palsy , myelomeingocele , neurological injury , other neuromuscular disease
แบบไม่ทราบสาเหตุ (ideopathic clubfoot)หรือ Ideopatic Talipes EquinoVarus (ITCEV) พบตั้งแต่กำเนิด
เพศชาย: เพศหญิง = 2.5 : 1 มีความสัมพันธ์ในพันธุกรรม พบมีอุบัติการณ์เพิ่มขึ้น ในญาติพี่น้อง ในฝาแฝดถ้าอีกคนหนึ่งเป็นอีกคนมีโอกาสร้อยละ 2.5
การวินิจฉัย
ตรวจดูลักษณะเท้า “เท้าจิกลง บิดเอียงเข้าด้านใน”ควรแยกระหว่างเท้าปุกที่สามารถหายได้เองจากผลของท่าของเท้าที่บิดขณะอยู่ในครรภ์ positional clubfoot : ขนาดเท้าใกล้เคียงเท้า
ปกติ บิดผิดรูปไม่มากนัก เมื่อเขี่ยด้านข้างของเท้าเด็กสามารถกระดกเท้าขึ้นเหมือนรูปเท้าปกติได้ idiopatic clubfoot: ไม่สามารถหายได้เองต้องได้รับการรักษา
พยาธิสภาพ
รูปร่างกระดูก : รูปร่าง และขนาดจะบิดผิดรูปไปจากเท้าปกติ โดยเฉพาะกระดูก talus , calcaneus ,navicular และ cuboid bone
Joint capsule และ Ligament : จะหดสั้นแข็ง
Tendon และ Muscle : เอ็นและกล้ามเนื้อขาข้างที่มีเท้าปุกจะเล็กกว่าปกติ
Nerve และ Vessel : มีขนาดเล็กกว่าปกติ พบสิ่งผิดปกติได้บ่อยกว่า เช่น absence ของ Dosalis pedisartery ร้อยละ 50
การรักษา
จุดมุ่งหมายการรักษา
ท้าให้เท้ามีรูปร่างใกล้เคียงเท้าปกติมากที่สุด
สามารถใช้ฝ่าเท้ารับน้้าหนัก ได้เหมือนหรือใกล้เคียงปกติ
เท้าสามารถเคลื่อนไหวใกล้เคียงปกติและสามารถใช้เท้าได้โดยไม่เจ็บปวด
การดัดและใส่เฝือก
การผ่าตัด
2.1 การผ่าตัดเนื้อเยื่อ (subtalar soft tissue release)
2.2. การผ่าตัดกระดูก (osteotomy)
2.3 การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก (triple fusion)
ฝ่าเท้าแบน Flat feet ซึ่งจะเริ่มมีตอนเด็กอายุ 3-10 ปี
อาการ
อาการขึ้นกับความรุนแรงของความแบนราบ
ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
ในรายที่แบนรุนแรงผู้ป่วยจะมีอาการปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
สาเหตุ
เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
เกิดจากการเดินที่ผิดปกติเช่นการเดินแบบเป็ดคือมีการบิดของเท้าเข้าข้างใน
เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
Cerebral Palsy ความพิการทางสมอง
ลักษณะ
ซึ่งเด็กจะมีการเคลื่อนไหวร่างกายที่ผิดปกติ ปัญหาในการควบคุมการท้างานของกล้ามเนื้อปัญหาการพูดคุยและการกินและอาจจะมีปัญหาในการควบคุมลมหายใจเพื่อเปล่งเสียง ส่วนใหญ่สติปัญญาดี ไม่ปัญญาอ่อน
เกิดขึ้นได้ทั้งก่อน/ระหว่าง /หลังคลอด
ก่อนคลอด
อาจมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ
มารดาเป็นโรคแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับมารดาขณะตั้งครรภ์
ระหว่างคลอด /หลังคลอด
ปัญหาระหว่างคลอด
ปัญหาระหว่างคลอด
คลอดยาก , สมองกระทบกระเทือน ,ขาดออกซิเจน , ทารกคลอดก่อนก้าหนด
จำแนกโดยลักษณะการเคลื่อนไหวได้ 4 ประเภท
Spastic CP
จะมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งแน่นไม่สามารถหดตัวได้เหมือนกล้ามเนื้อปกติ มีลักษณะแข็งทื่อ
Ataxic CP
กล้ามเนื้อจะยืดหดอย่างไม่เป็นระบบระเบียบ ท้าให้ไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อได้ หากเด็กมีความ
เก็บกดทางอารมณ์ หรือเมื่อเวลาตื่นเต้น กล้ามเนื้อจะยิ่งผิดปกติมากขึ้น
Athetoid CP
มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน ท้าให้เด็กควบคุมสมดุลไม่ได้ ท้าให้โซเซและหกล้มได้ง่าย
ประมาณ 1 ใน 4 ของเด็กที่เป็นซีพี จะมีอาการเป็น Atheloid CP
Mixed CP
เป็นการผสมผสานลักษณะทั้งสามคือ เด็กคนเดียวอาจมีลักษณะที่กล่าวมาแล้ว โดยประมาณกันว่า
1 ใน 4 ของคนที่เป็น ซีพี จะมีลักษณะของการผสมผสานประเภทนี้
spastic cerebral palsy
4 ประเภท
Hemiplegia
Double hemiplegia
quadriplegia
Diplegia
การรักษา แบ่งเป็นการรักษาด้านกระดูกและข้อ และการรักษาด้านอื่นๆ
1.ป้องกันความผิดรูปของข้อต่างๆ
กายภาพบ้าบัด(Physical Therapy)
อรรถบ้าบัด (Speech and Language Therapy)
2.ลดความเกร็ง โดยใช้ยา
ยากิน กลุ่ม diazepam
ยาฉีด เฉพาะที่ ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน คือกลุ่ม Botox
3.การผ่าตัด
การผ่าตัดลดความตึงของกล้ามเนื้อโดยผ่าคลายเฉพาะกล้ามเนื้อที่ยึดตึง
การย้ายเอ็น เพื่อสร้างความสมดุลของข้อ
การผ่าตัดกระดูก ในรายที่กระดูกถูกดึงจนผิดรูปแล้ว
การให้การดูแลรวมถึงให้ก้าลังใจ โดยพ่อแม่ผู้ปกครองมีส่วนส้าคัญกับการพัฒนาการด้านอารมณ์
5.การรักษาด้านอื่นๆ เช่น การผ่าตัดแก้ไขตาเหล่ น้้าลายยืด การใช้เครื่องช่วยฟังใช้ยาควบคุมการชักรวมถึงปัญหาด้านจิตเวช
ภาวะกระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
ความหมาย
โรคที่ผู้ป่วยมีลักษณะของกระดูกสันหลังผิดรูป
ชนิดแบ่งตามสาเหตุ
1.ชนิดที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในเนื้อกระดูกสันหลัง (Non Structurial Scoliosis)
2.ชนิดที่มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูกสันหลัง (structural Scoliosis)
การตรวจวินิจฉัย
1.การซักประวัติถามเกี่ยวกับประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
2.การตรวจร่างกาย ได้แก่ การสังเกตความพิการหลัง แนวล้าตัว ความสูง น้้าหนักตัว ความกว้างของแขน ท่านั่ง ท่ายืน ระดับไหล่ สะโพกสองข้างสูงเท่ากันหรือไม่ ทำ Adam’ s forward bending test
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่น ๆ ได้แก่ การถ่ายภาพเอกซเรย์ในท่ายืนตรงและด้านข้างตั้งแต่กระดูกทรวงอกถึงกระดูกก้นกบ
การรักษา
1.การรักษาแบบไม่ผ่าตัด ปัจจุบันการรักษาแบบไม่ผ่าตัดเพื่อที่จะ “หยุด” หรือ “ชะลอ”
2.การรักษาแบบผ่าตัด มีข้อบ่งชี้เมื่อพบว่า มีมุมการคดของกระดูกสันหลังเกิน 45-50องศา
อาการและอาการแสดง
1.ความพิการของกระดูกสันหลังพบกระดูกหลังโค้งไปด้านข้างอาจเกิดโค้งทดแทนเพื่อรักษาไว้ซึ่งสมดุลและท่าที่กระดูกสะบักพบกระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน สะบักไม่อยู่ระดับเดียวกันคือไหล่ข้างหนึ่งสูงกว่าอีกข้าง
2.เมื่อให้ผู้ป่วยก้มตัวไปด้านหน้าจะมองเห็นตะโหงก (Hump) จากการหมุนของกระดูกซี่โครง
3.ทรวงอกเคลื่อนไหวจ้ากัด มักหายใจตื้น หายใจลึกท้าได้ยาก
4.พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวกลางตัว ความจุในทรวงอกข้างไม่สมมาตรกัน จากการหมุนของซี่โครงไปด้านหน้า
5.กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออกจะฝ่อลีบและบาง
6.ข้อศอกและขอบกระดูกเชิงกราน (Iliac Creast) ไม่อยู่ระดับเดียวกัน
7.ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
8.สังเกตว่าใส่เสื้อผ้าไม่พอดี สายเสื้อในข้างหนึ่งหลุดบ่อยและความสูงขอบกระโปรงไม่เท่ากัน
9.เกิดอาการปวดเมื่อหลังคดมาก แต่ในเด็กพบอาการปวดไม่บ่อย
10.เริ่มมีอาการ เมื่ออายุยิ่งน้อยจะยิ่งมีความพิการมาก และกระดูกสันหลังส่วนเอวคดมีพยากรณ์โรคดีกว่ากระดูกสันหลังส่วนอกคด
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้้าหนักลด
มีไข้
การเคลื่อนไหวของต้าแหน่งที่เป็นผิดปกติ รับน้้าหนักไม่ได้ มักมีประวัติการเกิดอุบัติเหตุ
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : ระยะเวลาการมีก้อนเนื้องอก อาการปวด การเคลื่อนไหว
การตรวจร่างกาย : น้้าหนัก ต้าแหน่งของก้อน การเคลื่อนไหว ต่อมน้้าเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : MRI , CT เพื่อดูการแพร่กระจายของโรค หาระดับอัลคาไลน์ฟอสฟาเตส(ALP) และระดับ แลคเตส ดีไฮโดรจิเนส (LDH) มีค่าสูงขึ้น
การรักษา
การตัดก้อนมะเร็งออกให้หมด ป้องกัน การแพร่กระจายของโรค
วิธีการ
การผ่าตัด
เคมีบ้าบัด
รังสีรักษา
การพยากรณ์โรค
1.ต้าแหน่งของโรคที่มีการพยากรณ์ดีที่สุดคือ ส่วนปลายของกระดูกต้นขา ต้าแหน่งการพยากรณ์โรคที่ไม่ดีคือบริเวณกระดูกกลางตัว
ถ้าสามารถผ่าตัดออกได้หมดจะมีการพยากรณ์โรคที่ดี
ถ้ามีการแพร่กระจายของโรคการพยากรณ์จะไม่ดี
การพยาบาล
ไม่สุขสบายจากการปวดแผลผ่าตัดและปวดหลอน (Phantom pain)บริเวณแขน/ขา ที่ถูกตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของกระดูกที่ท้าการผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากเคมีบ้าบัดและรังสีรักษา
มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการรักษาพยาบาล
Omphalocele
นิยาม
เป็นความผิดรูปแต่ก้าเนิดของผนังหน้าท้อง
ลักษณะทางคลินิค
ภายหลังคลอดพบบริเวณกลางท้องทารกมีถุง omphalocele ติดอยู่กับผิวหนัง
ผนังบางมองเห็นอวัยวะภายในได้ อวัยวะที่อยู่ในถุงอาจประกอบ
ไปด้วยล้าไส้เล็ก ล้าไส้ใหญ่ กระเพาะอาหาร ม้าม และตับ
การรักษา
conservative
เหมาะส้าหรับในรายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่
operative
วิธีแรกเป็นการเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย (primary fascial closure)
อีกวิธีเป็นการปิดผนังหน้าท้องโดยท าเป็นขั้นตอน (staged repair) primary fascial closure มักจะท้า
เมื่อ omphalocele มีขนาดเล็ก และมีอวัยวะอยู่ภายในไม่มาก
Gastroschisis
นิยาม
เป็นความผิดปกติแต่ก้าเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์แล้วเกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
การวินิจฉัย
เมื่อคลอดพบว่าที่หน้าท้องทารกจะพบถุงสีขาวขุ่นบาง ขนาดต่าง ๆ กัน สามารถมองเห็นขดล้าไส้หรือตับผ่านผนังถุงอาจมีส่วนของถุงบรรจุ wharton’s jelly สายสะดือติดอยู่กับตัวถุง ขนาดที่พบตั้งแต่ 4 – 10 cm
การพยาบาล
การคลอดและการนำส่งโรงพยาบาล
การแก้ไขปัญหาฉุกเฉิน
Incubator หรือ ผ้าอุ่น กระเป๋าน้้าร้อน
การประเมินการหายใจ เตรียม endotrachial tube, suction
ใส่ orogastric tube ปลายเปิดลงถุง
Rectal irrigation ด้วย NSS อุ่น
เริ่มให้antibiotic ได้ทันที
ตรวจระดับ น้้าตาล เกลือแร่ในกระแสเลือดเจาะเลือดแม่เพื่อเตรียมทำการจองเลือด เผื่อว่าต้องทำการให้เลือด
การดูแลโดยทั่วไป
การอาบน้้า ไม่ต้องท้าเนื่องจากจะท้าให้เด็กตัวเย็นมากขึ้น
ให้ vitamine K 1 mg intramuscular
การรักษาความอบอุ่น
ประเมินภาวะทั่วไป ความสามารถในการหายใจ
decompression stomach
การค้นหาความพิการร่วม
การดูแลเฉพาะ
การทำแผล สะอาด หมาดๆ ไม่รัด
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด (Nursing preoperative care)
เช็ดท้าความสะอาด ล้าไส้ส่วนที่ สกปรก ป้องกันการติดเชื้อ
ข้อวินิจทางการพยาบาล
อาจเกิดภาวะ Hypothermia เนื่องจากทารกส่วนใหญ่น้้าหนักน้อย หรือคลอดก่อนก้าหนด และมีลำไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้อง
2.อาจเกิดการสูญเสียสารเหลวที่ไม่สามารถทราบได้ (insensible loss) ซึ่งจะนำไปสู่ปริมาตรเลือดต่้า
อาจเกิดภาวะติดเชื้อของแผลจากการที่มีลำไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้อง
4.อาจเกิดอาการท้องอืด หรืออาเจียน เนื่องจากมีลมในกระเพาะอาหารและลำไส้
อาจเกิดการขาดสารน้้าและอีเลคโตรลัยท์ เนื่องจากงดอาหาร น้้า และจากการที่มีล้าไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้อง
6.บิดามารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของบุตร
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลหลังการผ่าตัด
อาจเกิดภาวะการติดเชื้อของแผลผ่าตัด
อาจเกิดภาวะหายใจล้าบากเนื่องจากการใช้แรงกดถุงล้าไส้ให้เคลื่อนเข้าช่องท้อง
อาจเกิดภาวะท้องอืดหรืออาเจียน เนื่องจากการที่ล้าไส้บวมหรือมีการอุดตัน
การพยาบาลหลังการผ่าตัด (Nursing postoperative care)
Problem
Respiratory distress
ใส่ endotrachial tube และให้muscle relaxant 1-2 วัน หลังผ่าตัด
Hypothermia
ต้องให้เด็กอยู่ในตู้อบ (incubator) ปรับอุณหภูมิตามตัวเด็ก
Hypoglycemia, Hypocalcemia
สังเกตว่าเด็กจะมี tremor, cyanosis หรือ convulsion รายที่มี
hypocalcemia อาจจะเกิด periodic apnea
General care
จัดท่านอนหงาย , สังเกตการหายใจ , การขับถ่าย , ตรวจดูว่ามี discharge ออกมาจากแผล ,
swab culture
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
มักคล้าพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อย ๆ ยุบลงไป การปล่อยให้มีภาวะคอเอียงอยู่นานจะส่งผลให้กะโหลกศีรษะ ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศีรษะบิดเบี้ยวไม่สมดุล
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ลักษณะของผู้ป่วย ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth)
การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis) ปรับต้าแหน่งศีรษะ
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
พยาธิสภาพ
การเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง การอัมพาตของกล้ามเนื้อท้าให้กระดูกเจริญเติบโตน้อย ไม่เท่ากัน ทั้งสองข้าง ท้าให้ข้อคดงอ ขายาวไม่เท่ากัน ท้าให้ตัวเอียงและหลังคด กล้ามเนื้อหลังและหน้าท้องไม่สมดุลกันทั้งสอง ในรายที่กระดูกสันหลังคดไม่ทราบสาเหตุ หลังจะคดมากขึ้นเรื่อย ๆ
รายที่หลังคดรุนแรง ท้าให้ทรวงอกผิดปกติกระทบต่อการท้างานของหัวใจและปอด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : การผ่าตัด ความพิการของกระดูกสันหลัง
การตรวจร่างกาย : สังเกตความพิการ ส่วนสูง น้้าหนักตัว แนวล้าตัว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่น ๆ : X-Ray
อาการและอาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน สะบักไม่อยู่ระดับเดียวกันคือไหล่ข้างหนึ่ง
สูงกว่าอีกข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจ้ากัด มักหายใจตื้น หายใจลึกท้าได้ยาก
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวล้าตัว ความจุในทรวงอกสองข้างไม่สมมาตรไม่เท่ากัน
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออกจะฝ่อลีบและบาง
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
มีอาการปวดเมื่อหลังคดมาก ในเด็กอาจพบไม่บ่อย
เริ่มมีอาการเมื่ออายุน้อยยิ่งมีความพิการมาก กระดูกสันหลังส่วนเอวคดมีพยากรณ์โรคดีกว่ากระดูกสันหลังคด
การรักษา
เป้าหมาย
ป้องกันไม่ให้โรคเป็นมากขึ้น
แก้ไขหรือลดความพิการ
ป้องกันและลดความปวด
ปรับปรุงสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ให้กระดูกสันหลังมีความสมดุลและแข็งแรง
แบบอนุรักษ์นิยม (Conservation) กายภาพบ้าบัด , บริหารร่างกาย
การผ่าตัด เป็นการรักษาสมดุลของล้าตัว แก้ไขแนวตรงของร่างกาย รักษาระดับไหล่และสะโพก
จำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัดเมื่อไหร่
ผู้ป่วยที่มีมุมของกระดูกสันหลังคดมากกว่า 45 องศา ในวัยก้าลัง เจริญเติบโต ( immature )
ผู้ป่วยที่มีมุมของกระดูกสันหลังคดมากกว่า 50-55 องศา ในวัยที่หยุด การเจริญเติบโตแล้ว ( maturity )
ผู้ป่วยที่มีการคดของกระดูกสันหลังมากขึ้นเรื่อยๆ ขณะรับการรักษาโดย การใส่เสื้อเกราะ ( brace )
การรักษาด้วยการผ่าตัดทำอย่างไร
การผ่าตัดมีจุดประสงค์เพื่อลดความผิดรูป ของกระดูกสันหลัง และท้าให้กระดูกสันหลังอยู่ในภาวะสมดุล (balance)
โดยการผ่าตัดแพทย์จะจัดแนวกระดูกสันหลังแล้วใช้อุปกรณ์ยึด กระดูกสันหลัง หลังจากนั้น ท้าการเชื่อม
นางสาวกรวดี ยิ่งยศกำจรชัย เลขที่ 1 613601001 ห้อง 2A