Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
สาเหตุ
มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุน้ามาก่อนมีแรง กระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
อาการและอาการแสดง
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
3.รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
ลักษณะของกระดูกหัก
ลกัษณะของข้อเคลื่อน
การตรวจพบทางรังสี
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคอง ข้างที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลาตัว พันนาน 10-14 วัน ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับลาตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าสาลี คล้อง แขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิด
มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทา้คลอด สอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
ส่วนในเด็กโต อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอก กระแทกพื้นโดยตรง จะพบหัวไหล่บวม ช้้า เวลาจับไหล่ หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด การหักของกระดูก บริเวณนี้ อาจให้ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้ นานประมาณ 2 - 3 สัปดาห์
ในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออก จากกันมากๆควรตรึงแขนด้วย traction ตรึงไว้นาน ประมาณ 3 สัปดาห์ อาจท้า skin traction หรือ skeletal traction ก็ได้
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
พบบ่อยในเด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน โรคแทรก ซ้อนที่อาจเกิดข้ึน “ Volkman’s ischemic contracture ”
กระดูกหักบริเวณน้ีอาจเกิดปัญหา เกี่ยวกับการเจริญเติบโตของกระดูก Humerus
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
( Transient subluxation of radial head , pulled elbow )
เป็นการเคลื่อนที่ของหวักระดูกเรเดียสออกมาจากขอ้radio-humeral ไม่หมด
เกิดจากการหยอกลอ้ แลว้ ดึง แขนหรือหิ้วแขนเดก็ ข้ึนมาตรงๆในขณะท่ีขอ้ ศอกเหยยี ดและแขนท่อน ปลายคว่ามือ
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึง วัยรุ่น เกิดจากการกระทาทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
ต้าแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของ กระดูกต้นขา เด็กจะปวด บริเวณข้างที่หัก บวมตรงต้าแหน่ง กระดูกถ้าอายุต่้ากว่า 3 ปี แก้ไขโดยให้ใส่เฝือกขาแบบ ยาวนาน 3-4 สัปดาห์
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
สาเหตุ เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด ได้แก่ การคลอดท่าก้น ภาวะคลอด ติดไหล่ เด็กมีน้้าหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน
การวินิจฉัย จากการสังเกตเห็นแขนที่ผดิปกติเคลอื่นไ
การรักษา ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่ จ้าเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
โรคคอเอียงแต่กาเนิด(CongenitalmuscularTorticollis)
อาการ
มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อยๆยุบลง
การวินิจฉัย
1.การตรวจร่างกาย ลกั ษณะของผู้ป่วย ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
• ยืดกลา้มเน้ือบริเวณคอที่หดสั้น
การผ่าตัด
กระดูกสันหลัง คด (Scoliosis)
การวนิจฉัย
1.การซักประวัติ
2.การตรวจร่างกาย
การตรวจทางหอ้งปฏิบัติการพิเศษอื่น ๆ : X-Ray
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน
ทรวงอกเคลื่อนไหวจากัด มักหายใจตื้น หายใจลึกทาได้ยาก
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลาตัว ความจุในทรวง
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออก จะฝ่อลีบและบาง
ขอ้ ศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงตวั ไปดา้นข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
มีอาการปวดเมื่อหลังคดมาก ในเดก็ อาจพบไม่บ่อย
เริ่มมีอาการเมื่ออายุน้อยยิ่ง มีความพิการมาก กระดูกสนั หลงั
ส่วนเอวคดมีพยากรณ์โรคดีกว่ากระดูกสนั หลงั คด
วิธีการรักษา
1.แบบอนุรักษนิยมยม(Conservation)
กายภาพบาบัด บริหารร่างกาย
2 . การผ่าตัด
ชนิดของ Traction ที่ใช้รักษากระดูกหักในเด็ก
Bryant’s traction ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก ( fracture shaft of femur ) ตั้งแต่แรกเกิด จนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบ หรือน้าหนัก ไม่เกิน 13 กิโลกรัม
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper lim ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน เป็นการเข้า traction ในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา กับล้าตัว
Dunlop’s traction
Skin traction
ใช้ในรายที่มี facture shaft of femur ในเด็กโต อายุมากกว่า 3 ขวบขึ้นไป traction แบบนี้อาจเกิดปัญหาการกด peroneal nerve ท้าให้เกิด foot drop ได้
Russell’s traction
ใช้ในเด็กโตที่มี Fracture shaft of femur หรือ fracture บริเวณ supracondyla region of femur การท้า traction ชนิดนี้อาจเกิดปัญหาการผ้า sling ที่คล้องใต้ขาไปกด เส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข่าได้