Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยโรคติดเชื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยโรคติดเชื้อ
แนวทางการรักษาโรคติดเชื้อ
1พิจารณาให้ยาต้านจุลชีพที่เหมาะสม ในขนาดที่ถูกต้อง เป็นระยะเวลาที่ได้ผลดีที่สุดส่วนใหญ่การพิจารณาใช้ยาต้านจุลชีพจะแบ่งเป็นสองระยะ
ระยะแรกเป็นการให้ยาตามข้อมูลเบื้องต้น เช่น ลักษณะอาการเจ็บป่วย สถิติของเชื้อโรคที่มักเป็นสาเหตุของการติดเชื้อ
ระยะต่อมา จะมีการนำผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการมาใช้ประกอบ และอาจมีการปรับเปลี่ยนให้ถูกต้องเหมาะสมยิ่งขึ้น
2ทดสอบความไวของยาต้านจุลชีพเสมอ ทั้งจากรายงานในสถานพยาบาลแห่งนั้นรายงานจากหน่วยงานราชการ และรายงานจากห้องปฏิบัติการอ้างอิง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โรคติดเชื้อส่วนใหญ่จำเป็นต้องส่งตรวจเพื่อวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ การตรวจบางชนิดทำได้ง่าย
ไม่ยุ่งยาก ในขณะที่การตรวจบางอย่างยุ่งยาก และลำบากมาก ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการช่วย
ให้การวินิจฉัยแม่นยำ และการรักษามีประสิทธิภาพได้ผลมากยิ่งขึ้น มาตราฐานของห้องปฏิบัติการจึง
มีความสำคัญต่อกระบวนการวินิจฉัยโรคติดเชื้อทุกชนิด
โรคติดเชื้อ (infectious diseases) หมายถึง โรคที่มีสาเหตุมาจากเชื้อโรค การที่จะทำให้เกิดโรคมีปัจจัยเกี่ยวข้องหลายประการ เช่น
หลักการวินิจฉัยโรคติดเชื้อ
1.โรคติดเชื้ออาจเกิดขึ้นกับระบบใดระบบหนึ่งของร่างกาย หรืออาจเกิดขึ้นทั่วร่างกายก็ได้ ลักษณะอาการของโรคติดเชื้อที่มักเกี่ยวข้องกับอวัยวะหลักๆ ได้แก่ โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ โรคติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ โรคติดเชื้อระบบประสาท โรคติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร โรคติดเชื้อของกระดูกและข้อ โรคติดเชื้อของผิวหนังและเนื้อเยื่ออ่อน เป็นต้น
2.การวินิจฉัยโรคติดเชื้อต้องกระทำอย่างรวดเร็วและถูกต้องแม่นยำ เนื่องจากมีผลต่อการวางแผนการรักษาอย่างมาก ความล่าช้าในการวินิจฉัยโรคเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้การรักษาไม่ได้ผล
3.วิธีเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการโรคติดเชื้อ ต้องกระทำอย่างถูกต้องครบถ้วน ไม่ว่าจะเป็นเทคนิกการเก็บตัวอย่าง การดูแลเก็บรักษาสิ่งส่งตรวจ การขนส่งเคลื่อนย้ายไปยังห้องปฏิบัติการ
4.แพทย์ต้องใช้ลักษณะประวัติอาการเจ็บป่วยเป็นข้อมูลสำคัญในการวินิจฉัยเบื้องต้น รวมทั้งการตรวจร่างกายอย่างละเอียด ทุกซอกทุกมุมของร่างกาย บางครั้งการตรวจผลความผิดปกติเพียงตำแหน่งเดียวอาจช่วยในการวินิจฉัยโรคได้อย่างมาก
5.ศึกษาลักษณะการเปลี่ยนแปลงรูปร่างที่เห็นได้ด้วยตาเปล่าและกล้องจุลทรรศน์ของพยาธิสภาพ และผลแทรกซ้อนจากการติดเชื้อชนิดต่างๆ ช่วยให้การวินิจฉัยโรคทางคลินิกแม่นยำยิ่งขึ้น
เชื้อโรค อาจเรียกได้หลายอย่าง เช่น เชื้อจุลินทรีย์ จุลินทรีย์ เชื้อจุลชีพ จุลชีพ ศาสตร์ที่ศึกษา
เชื้อโรคก็ไม่สามารถก่อให้เกิดโรคได้ เช่น ภาวะที่ภูมิคุ้มกันของร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ก็จะสามารถกำจัดเชื้อได้ แต่เมื่อร่างกายอ่อนแอลง เชื้อโรคก็จะก่อเหตุทันที
การป้องกันจากโรคติดเชื้อ มีหลักการ 3 ด้านที่สำคัญ คือ
การป้องกันที่จุดก่อโรค
– การฆ่าเชื้อในแหล่งก่อเชื้อ เช่น แหล่งขยะ แหล่งน้ำเสีย
– การกักกันบริเวณก่อโรค
การป้องกันที่ทางผ่านโรค
– การฆ่าเชื้อในอากาศ
– การใช้เครื่องฟอกอากาศ
การป้องกันที่ตัวบุคคล
– การให้วัคซีน
– การออกกำลังกาย
กลุ่มโรคติดเชื้อทางระบบทางเดินหายใจ
2.ไข้หวัดใหญ่ (Influenza)
3.คออักเสบ (Acute Pharyngitis)
1.โรคหวัด (Acute Rhinopharyngitis: Common cold)
4.โรคปอดอักเสบ (Pneumonia)
5.หลอดลมอักเสบ (Acute Bronchitis)