Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลระบบประสาทในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลระบบประสาทในเด็ก
บทบาทในการให้การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาของระบบประสาท
การตรวจพิเศษ เช่น การตรวจน้ำไขสันหลัง , MRI
การดูแลเด็กที่มีความผิดปกติทางระบบประสาท
การประเมินทางระบบประสาท เช่น ความรู้สึกตัว การสื่อสาร การเคลื่อนไหว การทรงตัว การลืมตา
ระดับความรู้สึกตัว
Lethargy ผู้ป่วยเคลื่อนไหวได้เล็กน้อย มีอาการง่วง พูกช้า สับสน
Stupor ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว หลับลึก แต่ยังตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่กระตุ้นซ้ำๆได้
Full consciousness รู้สึกตัวดี รับรู้เวลา บุคคล และสถานที่ได้ปกติ
Coma ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนองใดๆทั้งสิ้น
ท่าทางของเด็กไม่รู้สึกตัว
Decorticate posturing นอนหงายงอแขนเข้าหาลำตัวทั้งสองข้าง กำมือแน่นและงอข้อมือ
Decerebrate posturing นอนหงายแขนทั้งสองข้างเกร็ง เหยียดออกและคว่ำแขนลงโดยบิดข้อมือออก
การประเมินสัญญาณชีพ
การให้คำแนะนำบิดามารดาของผู้ป่วยเด็ก
ภาวะชักจากไข้สูง
อาการชักที่สัมพันธ์กับการมีไข้ โดยไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อของระบบประสาท เช่น ติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ ทางเดินหายใจ
อาการ ชักเมื่อมีอุณหภูมิมากกว่า 39 °C เกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรก
ชนิดของภาวะไข้สูง
Simple febrile seizure
การชักเป็นแบบทั้งตัว
เกิดช่วงสั้นๆ ไม่เกิน 15 นาที
มีไข้ร่วมกับชัก
ไม่มีการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
Complex febrile seizure
การชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว
เกิดนานมากกว่า 15 นาที
หลังชักจะมีความผิดปกติของระบบประสาท
เกิดการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
โรคลมชัก
ภาวะทางระบบประสาทที่ทำให้เกิดอาการชักซ้ำๆ อย่าง
น้อย 2 ครั้งขึ้นไป และอาการชักครั้งที่ 2 ต้องห่างกันมากกว่า 24
ชั่วโมง โดยไม่ได้เกิดจากสาเหตุมีปัจจัยกระตุ้น
ทราบสาเหตุ ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง,ภยันตรายระหว่างการคลอดหรือคลอด,น้ำตาลในเลือดต่ำ,โรคทางพันธุกรรม
ไม่ทราบสาเหตุ จากความผิดปกติของ Neurotransmission
ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของยีน
หาสาเหตุไม่ได้ มีพยาธิสภาพภายในสมอง จัดอยู่ใน
กลุ่ม Symtomatic epilepsy
อาการและอาการแสดง
Preictal period คือ ระยะก่อนอาการชัก
อาการนำ (Seizure prodromes) อาการบางอย่างที่นำมาก่อน
มีอาการชัก อาจเกินนานหลายนาที
อาการเตือน (Aura) ลักษณะอาการเตือนแตกต่างกันตาม
ตำแหน่งของสมอง เช่น มีอาการปวด ชา เห็นภาพหลอน เป็นต้น
Postictal peroid คือ ระยะเวลาเมื่อการชักสิ้นสุดลง ระยะนี อาจเกิดนาน
หลายวินาทีถึงหลายวันก็ได้ ส่วนใหญ่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง มีอาการได้แก่
สับสน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
Interictal peroid คือ ช่วงเวลาระหว่างการชัก เริ่มตั้งแต่ระยะเวลาหลังการชักหนึ่งสิ้นสุดลงไปจนถึงเริ่มเกิดชักครั้งใหม่ โดยไม่มีอาการใดๆ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
เป็นการอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมอง
ชั้นในสุดและอแรคนอยด์ที่อยู่รอบๆสมองและไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมองถูกทำลาย
อาการและอารแสดง
มีอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ มีอาการคอแข็ง (Nuchal rigidity คือ มีแรงต้านเมื่อก้มคอผู้ป่วย)
ชนิดของเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
เฉียบพลันจากไวรัส กลูโคสปกติ โปรตีนปกติหรือสูง PMN <300/mm
วัณโรค กลูโคสต่ำ โปรตีนสูง PMN <300/mm
เฉียบพลันจากแบคทีเรีย กลูโคสต่ำ โปรตีนสูง PMN >300/mm
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides
เชื้อนี้ติดต่อจากคนไปสู่คน โดยเชื้อจะออกมาทางละอองน้ำมูก น้ำลาย (droplet) โดยมีระยะฟักตัวประมาณ 2-10 วัน (เฉลี่ย 3-4 วัน)
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือด
ส่วนใหญ่มาด้วยอาการสาคัญ 2 อย่าง
Meningitis
มีอาการไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึมและสับสน อาการจะแย่ลงอย่างรวด อาจพบอาการที่แสดงถึงการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง ผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีจ้ำเลือดออกตามผิวหนัง
Meningococcemia
Acute Meningococcemia อาการเกิดอย่างฉับพลัน มีอาการปวดศีรษะ เจ็บคอและไอ เป็นอาการนามาก่อน ตามด้วยไข้สูง หนาวสั่น ปวดตามข้อและตามกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะที่ขาและหลัง ส่วนใหญ่จะมีผื่นหลังไข้ขึ้น 24-48 ชั่วโมง
Chronic Meningococcemia พบได้น้อย ส่วนใหญ่มักมีไข้ ผื่นตามผิวหนังอาจเป็น ผื่นแดงจ้ำ ปวดและเจ็บข้ออยู่เป็นเดือน ไข้จะเป็นๆ หายๆ
Fulminant Meningococcemia เป็นอย่างรุนแรง ระบบไหลเวียนโลหิตไม่
ทำงานอาจ ช็อคถึงเสียชีวิตได้ ในเวลาไม่นานหลังจากเริ่มมีอาการ
การรักษา
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
ยาปฏิชีวนะ เช่น Ceftriaxone /PGS/Chloramphenicol
การรักษาแบบประคับประคองและตามอาการอื่นๆ
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
โรคอุทกเศียร : น้้าไขสันหลังคั่งในโพรงสมอง
อาการสาคัญ คือ ศีรษะโตแต่กาเนิด,กระหม่อมหน้าโป่ง,ศีรษะโตเพิ่มขึ้น
เมื่อเทียบกับทรวงอปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
อาการแสดง
รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง (Fontanelle bulging)
หนังศีรษะบางและเห็นเส้นเลือดดำ
รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน (Suture separation)
หัวโตกว่าปกติเมื่อเทียบกับ Growth curve ปกติ
หัวบาตร(Cranium enlargement)
เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้
การรักษา
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายนาในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
การผ่าตัดใส่สายระบายนาในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide ช่วยลดการสร้างนาหล่อสมองและไขสันหลัง ประมาณ 25-50%
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
Spina Bifida
เป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลัง
ออกมาตามตาแหน่งที่บกพร่องนั้น พบบ่อยที่สุดที่บริเวณ lumbosacrum
Spina bifida occulta : ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral arches
ไม่รวมตัวกัน เกิดเป็นช่องโหว่ระหว่างแนวกระดูกสันหลัง
Spina bifida cystica : ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง ทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง หรือเยื่อหุ้มสมองผ่านกระดูกออกมาให้เห็นเป็นถุงหรือก้อน
Meningocele : ก้อนหรือถุงน้ำประกอบไปด้วยเยื่อหุ้มสมอง
น้ำไขสันหลัง ไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง
Myelomeningocele กระดูกสันหลังผิดปกติ มีก้อนยื่นออกมา ก้อนหรือถุง มีเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลังและไขสันหลัง พบบ่อย
การรักษา
spida bifida occulta ไม่จาเป็นต้องรักษาแต่ชนิด Cystica ต้อง
ผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการสาคัญคือ ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจ
ไม่มีประสิทธิภาพ การดูดกลืนบกพร่อง เลี้ยงไม่โต ข้อติดแข็ง พัฒนาการล่าช้า
ภาวะสมองพิการ ทาให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
การทรงตัว ชนิดของสมองพิการ
อาการและอาการแสดง
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า โดยเฉพาะด้านการเคลื่อนไหว
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ ร่วม เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด การรับรู้ผิดปกติปัญหาด้านการพูด