Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก, นางสาววรรณรดา ทาศรีทอง ปี2 ห้องA เลขที่…
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
อาาการและอาการแสดง
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหัก
รอยจ้ำเขียว
มีอาการปวดและกดเจ็บ
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บผิดรูป
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
ลักษณะของกระดูกหัก
ลักษณะของข้อเคลื่อน
ข้อเคลื่อนออกจากกันเพียงเล้กน้อย
ข้อเคลื่อนออกจากกัน
การซักประวัติ
การตรวจพบทางรังสี
หลักการรักษากระดูกหัก
เป้าหมายการรักษา
จัดกระดูกเข้าที่และดามกระดูฏให้มีแนวกระดูก
ให้กระดูกเข้าที่ดีและติดเร็ว
ให้อวัยวะนั้นกลับมาทำงานได้เร็วที่สุด
ในระยะแรกมุ่งลดความเจ็บปวด
แก้ไขตามปัญหาและพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับกระดูกนั้นๆ
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก (fracture of clavicle)
กระดูกข้อศอกหัก (Supracondylar fracture)
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
กระดูกต้นแขนหัก (Fracture of humerus)
กระดูกต้นขาหัก (Fracture of femur)
การพยาบาล
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
การเข้าเฝือกปูน
ประเมินจากหลัก 5 PS
Paresthesia
Paralysis
Pallor
Pain
Pulselessness
Swelling
ดึงกระดูก
ชนิด
Over Head traction
Dunlop's traction
Bryant's traction
Skin traction
Rusell's traction
ผ่าตัดทำ open reduction internal fixation : ORIF
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการจำกัดเคลื่อนไหว
การพยาบาลเพื่อป้องกันกการติดเชื้อที่กระดูกเนื่องจากมีทาวเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
Volkmann's ischemic contracture
สาเหตุ
กล้ามเนื้อบริเวณ forearm ขาดเลือดไปเลี้ยง
ระยะของการเกิด
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อบวม ตึง แข็ง และมีสีคล้ำ เนื่องจากมีเลือดปะปนอยู่
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
ระยะเริ่มเป็น
นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้
สีของนิ้วขาวซีด
เจ็บและปวด
มีอาการชา
มีบวม เห็นชัดที่นิ้ว
ชีพจรคลำไม่ได้หรือคลำไม่ชัด
วิธีป้องกัน
ไม่ควรงอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือก
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าพันธรรมดา
จัดกระดูกให้เจ้าที่โดยเร็วที่สุด
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
ถ้าปล่อยไว้นานจะส้่งผลให้กระโฆลกและใบหน้าข้างที่กดทับแบนกว่าอีกข้าง
คลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอที่เอียง
การรักษา
การยืดกล้ามเนื้อ
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth)
การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis)
การผ่าตัด
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
อาการแสดง
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกออกจากแนงลำตัว
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง
การรักษา
แบบอนุรักษ์นิยม
กายภาพบำบัด บริหารร่างกาย
การผ่าตัด
รักษาสมดุลของลำตัว
นางสาววรรณรดา ทาศรีทอง ปี2 ห้องA เลขที่ 67 รหัสนักศึกษา 613601072