Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด, นางสาวธัชพรรณ อัศวภูมิ เลขที่…
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก
การเคลื่อนไหวตามเป็นจังหวะตามเสียงพูด (Entrainment)
ทารกจะเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายเป็นจังหวะสัมพันธ์กับเสียงพูดสูงต่ำของมารดา เช่น ขยับแขน ขา ยิ้ม หัวเราะ เป็นต้น เป็นแรงเสริมให้มารดา มีการตอบสนองต่อกันและกันมากขึ้น
จังหวะชีวภาพ (Biorhythmcity)
หลังคลอด ทารกต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมภายนอกที่แตกต่างจากในครรภ์มารดา มารดาต้องดูแลตอบสนองจังหวะชีวภาพของทารก เช่น ในขณะทารกร้องไห้ มารดาอุ้มทารกไว้แนบอก ทารกจะรับรู้หรือได้ยินเสียงการเต้นของหัวใจมารดา รวมถึงความอบอุ่น ช่วยให้ทารกรู้สึกมั่นคง หยุดร้องไห้ได้
การใช้เสียง (high-pitch voice)
เป็นการตอบสนองเริ่มทันทีที่ทารกเกิด มารดาและทารกจะมีการตอบสนองเสียงซึ่งกันและกัน เพื่อยืนยันว่าทารกมีสุขภาพแข็งแรง ทารกจะตอบสนองระดับเสียงสูง (High pitch voice) ได้ดีกว่าเสียงต่ำ (Deep loud voice)
การรับกลิ่น (order)
มารดาจำกลิ่นและแยกกลิ่นของทารกออกจากทารกคนอื่นๆได้ในระยะเวลา 3-4 วัน หลังคลอด ส่วนทารกก็สามารถเรียนรู้ จำกลิ่น และแยกกลิ่นของมารดาหรือกลิ่นน้ำนมได้ภายใน 5 วัน หลังคลอด
การมองสบตา (eye-to-eye contact)
เป็นสื่อเริ่มพัฒนาความผูกพัน มารดาใช้เวลาส่วนใหญ่ในการรอคอยให้ทารกลืมตา บางรายอาจพูดคุยเพื่อปลุกทารกให้ตื่น และบางรายให้ความสนใจใช้เวลากับการสบตาทารกโดยปรับท่ามองหน้าทารก ระยะที่เหมาะสม ประมาณ 8-12 นิ้ว ยังไม่ควรป้ายตาทารก
ความอบอุ่นของร่างกาย (Body warmth , Heat)
หลังทารกคลอดทันทีควรเช็ดตัวทารกให้แห้ง ห่อตัวทารกและนำทารกให้มารดาโอบกอดทันที ทารกจะไม่เกิดการสูญเสียความร้อน และรู้สึกผ่อนคลาย
การสัมผัส (Touch, Tactile sense)
เริ่มต้นสัมผัสทารกโดยใช้ปลายนิ้วมือสัมผัสปลายนิ้วและแขนขาของทารกก่อน แล้วจึงใช้ฝ่ามือในการสัมผัสและนวดเบาๆตามลำตัวของทารก ในที่สุดจะอุ้มทารกไว้ในวงแขนแนบลำตัว ทารกจะกำและจับนิ้วมือมารดาหรือใช้มือสัมผัสมารดาเป็นการตอบสนอง
การให้ภูมิคุ้มกันทางน้ำนม
น้ำนมมารดามีภูมิคุ้มกันสูง ช่วยให้ทารกมีภูมิคุ้มกันเชื้อโรคต่างๆภายหลังคลอด มีการศึกษาพบว่า หากนำทารกใกล้ชิดมารดา จะช่วยให้ได้รับเชื้อโรคปกป้องจากผิวหนังมารดา สามารถป้องกันการติดเชื้อโรคอื่นได้
การให้ภูมิคุ้มกันทางเดินหายใจ (Bacteria nasal flora)
ขณะที่มารดาอุ้ม โอบกอดทารกืจะมีการถ่ายทอดเชื้อโรคในระบบทางเดินหายใจ (normal flora) ของมารดาสู่ทารกเกิดภูมิคุ้มกันช่วยป้องกันทารกติดเชื้อจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างความรักความผูกพันระหว่างมารดาและทารก
ปัจจัยด้านทารก
👶
1.ทารกมีลักษณะผิดจากความคาดหวังของมารดา
2.ทารกมีความพิการหรือมีภาวะแทรกซ้อน
ปัจจัยด้านโรงพยาบาล
1.การจำกัดเวลาเยี่ยมของโรงพยาบาล
3.การขาดการสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล
2.การจำกัดกิจกรรมการดูแลทารก
ปัจจัยด้านบิดามารดา
👩🦰👨🦰
3.ความเชื่อทางวัฒนธรรม เช่น ในประเทศไทยจะมีประเพณีอยู่ไฟ
4.ทัศนคติที่มีต่อบุตร
2.ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวและระหว่างคู่สมรส
5.ลักษณะการคลอด
1.ประสบการ์การได้รับการเลี้ยงดูในวัยเด็ก เนื่องจากบิดามารดาจะมีการเลียนแบบพฤติกรรมเป็นบิดามารดาจากบิดามารดาของตน
6.การสัมผัส
ปัจจัยอื่นๆ
💊💊
1.การได้ยาระงับปวดหรือยาระงับความรู้สึกขณะคลอด
2.การไม่ได้เตรียมพร้อมด้านจิตใจ เนื่องจากคลอดบุตรก่อนกำหนด หรือตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด
💟
Bonding (ความผูกพัน)
หมายถึง กระบวนการผูกพันทางอารมณ์ที่พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูมีต่อทารกฝ่ายเดียว เกิดขึ้นชัดเจนเมื่อ รับรู้ว่าลูกดิ้นและเพิ่มสูงสุดเมื่อทารกคลอด
Attachment (สัมพันธภาพ)
หมายถึง ความรู้สึกรักใครู่ผูกพันระหว่างทารกกับพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู คงอยู่ถาวร เกิดขึ้นทีละเล็กละน้อย จากความใกล้ชิด เพิ่มขึ้นจนกลายเป็นความผูกพันทางใจ พัฒนาต่อเนื่องยาวนาน
การพัฒนาสัมพันธภาพ
ระยะตั้งครรภ์
เมื่อมารดารับรู้ว่ามีการตั้งครรภ์ขึ้น เกิดการเปลี่ยนแปลง มีผลต่อการสร้างความรักความผูกพันระหว่างมารดาและทารก
ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
1-3 วันแรกหลังคลอดเป็นช่วงเวลาที่มารดาและทารกมีความรู้สึกไวต่อการสร้างความผูกพัน การที่มารดาได้เห็น สัมผัสทันทีหลังคลอด Rooming-in และมีการส่งเสริมให้ทารกดูดนมเร็วที่สุด ทำให้ได้พัฒนาความรักความผูกพันเป็นอย่างดี
Sensitive peroid
มารดาจะแสดงความรักความผูกพันกับลูกตั้งแต่นาทีแรกหลังคลอด - ชั่วโมงแรกหลังคลอด
ระยะก่อนการตั้งครรภ์
กระบวนการของความรักความผูกพันของมารดาได้เกิดขึ้น จากความต้องการลูกที่เป็นตัวแทยความรักระหว่างพ่อแม่ ทำให้มีการวางแผนการตั้งครรภ์
ประเมินความรักความผูกพันระหว่างมารดาและทารก
1.การประเมินความรักความผูกพันระหว่างมารดาและทารก โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบสนองของมารดาและทารกซึ่งกันและกัน ได้แก่ แบบสังเกตพฤติกรรมความรักความผูกพันระหว่างมารดาและทารกเกิดก่อนกำหนดของฮัคกาบีร์
2.การประเมินความรักความผูกพันระหว่างมารดาและทารก โดยใช้แบบสอบถามของมูลเลอร์
ใช้การสังเกต สอบถาม
👩🦰👨🦰👶
2.พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก
3.ความสามารถในการฏิบัติบทบาทการเป็นมารดา
1.ความสนใจในการดูแลตนเองของตนเองและทารก
4.ความสามารถในการตอบสนองความต้องการของทารก
❌ พฤติกรรมของมารดาและทารกที่แสดงถึงการขาดสัมพันธภาพ (Lack of attachment)💔
1.ไม่สนใจมองบุตร
2.ไม่ตอบสนองต่อบุตร
3.พูดถึงบุตรในทางลบ
4.แสดงท่าทาง/คำพูด ที่ไม่พึงพอใจ
5.ขาดการซักถามเกี่ยวกับการดูแลบุตร
บทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์ในการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
👨👩👧
ระยะคลอด
ลดความวิตกกังวลของผู้คลอด
ส่งเสริมให้การคลอดผ่านไปอย่างปลอดภัย
สร้างบรรยากาศให้เกิดความไว้วางใจ
ระยะหลังคลอด
Rooming in โดยเร็วที่สุด
กระตุ้นให้มีปฏิสัมพันธ์กับทารก
ส่งเสริมให้มารดาสัมผัสโอบกอดทารกทันทีหลังคลอด ในระยะ sensitive peroid
ให้มารดา ทารก บิดา ได้อยู่ด้วยกันตามลำพัง
ระยะตั้งครรภ์
ยอมรับการตั้งครรภ์
ครอบครัวคอยให้กำลังใจ
ปรับบทบาทการเป็นบิดา มารดา
กระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์
นางสาวธัชพรรณ อัศวภูมิ
เลขที่ 47 ห้อง B