Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกหัก - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกหัก
สาเหตุ
กระแทกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่สูง
การกระตุ้นทางอ้อม เช่น หกล้ม เอามือยันพื้น
พยาธิสภาพของโรค เช่น มะเร็งของกระดูก กระดูกอักเสบ
อาการ
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
3.รอยจ้้าเขียว
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
ประเมินสภาพ
การซักประวัติ ซักเกี่ยวกับเรื่องการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
การตรวจร่างกาย
2.1 ลักษณะของกระดูกหัก
2.2 ลักษณะของข้อเคลื่อน มี 2 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ข้อเคลื่อนออกจากกันโดยตลอด และข้อที่เคลื่อนออกจากกันเพียงเล็กน้อย โดยที่ยังมีบางส่วนสัมผัสกันอยู่
3.ภาพจากรังสี
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก
อาการ
ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
คลำได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า
รักษา
ตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศาพันนาน 10-14 วัน
ใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา พัก 2 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก
สาเหตุ
อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง
รักษา
ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้นาน ประมาณ 2 - 3 สัปดาห์
ในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมากๆควรตรึงแขนด้วย traction ตรึงไว้นาน ประมาณ 3 สัปดาห
กระดูกข้อศอกหัก
สาเหตุ
เด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย
เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียด ตรง หรือข้อศอกงอ
โรคแทรกซ้อน
Volkman’s ischemic contracture
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
สาเหตุ
กการหยอกล้อ แล้วดึงแขนหรือหิ้วแขนเด็กขึ้นมาตรงๆในขณะที่ข้อศอกเหยียดและแขนท่อนปลายคว่้ามือ
กระดูกปลายแขนหัก
สาเหตุ
เกิดจากการกระท้าทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตก จากที่สูง
กระดูกต้นขาหัก
พบได้ทุกวัย โดยเฉพาะอายุ 2 - 3 ปี
ต้าแหน่งที่พบ คือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา
ถ้าอายุต่้ากว่า 3 ปี แก้ไขโดย ให้ใส่เฝือกขาแบบยาวนาน 3-4 สัปดาห์
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด
รักษา
มีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จ้าเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล
ป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ โดยการสังเกต คลำ การยกขึ้น งอหรือเหยียด ตรวจสอบความตึงตัว อาการเกร็งของกล้ามเนื้อ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
ดึงกระดูก( traction)
Bryant’s traction
Skeletal traction the upper limb เป็นการเข้า traction ในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา กับล้าตัว
Dunlop’s traction ใช้กับเด็กในรายที่่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่
Skin traction
Russell’s traction
ผ่าตัดท้า open reduction internal fixation ( ORIF )
ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดเคลื่อนไหว
ป้องกัน/ลดอาการข้อติดแข็ง กล้ามเนื้อลีบกระตุ้นให้เด็กมีการออกก้าลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ เปลี่ยนท่าให้เด็กอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
กระตุ้นให้เด็กมีการ เคลื่อนไหว จัดอาหารที่มีกากมาก ดื่มน้้าให้เพียงพอ
การกระตุ้นให้เด็กหายใจเข้าออกลึกๆแรงๆหลายๆครั้ง
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง
ป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ท้าความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือก ชะล้างสิ่งแปลกปลอมที่แผลออกให้หมด
ประเมินลักษณะแผล สิ่งคัดหลั่ง อาการบวมแดง
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
ลดความ เครียดวิตกกังวลเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจของเด็กและญาติ
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กและญาติที่มีต่อการรักษาพยาบาลและตัวบุคลากร
จัดกิจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด็กและญาติให้มีการระบายออก
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
บรรเทาปวด
ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
การดูแลแผลผ่าตัด ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้้าหรือสกปรก
ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
ควรสังเกตอาการเฝือกมีกลิ่นเหม็น,ปลายมือปลายเท้าชา เขียวคล้้า,มีไข้สูง นำส่งโรงพยาบาลทันที
ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดี
หมั่นออกก้าลังกายกล้ามเนื้อและข้อ โดยเฉพาะการก้าแบ มือบ่อยๆ
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
Volkmann’s ischemic contracture
สาเหตุ
เกิดจากกล้ามเนื้อบริเวณ forearm ขาดเลือดไปเลี้ยง
ถูกเสียดสีจนช้้าท้าให้เลือดไหลกลับไม่ได้ กล้ามเนื้อจะบวมตึงอาจเกิดจากสาเหตุต่าง ๆ
อาการ
ระยะเริ่มต้น
มีบวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว เจ็บและปวด
นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ การบวมท้าให้นิ้วแข็ง
สีของนิ้วจะขาวซีด หรืออาจจะเป็นสีคล้ำ แต่นิ้วยังคงอุ่นอยู่
มีอาการชา ชีพจร คล้ำไม่ได้ชัด หรือไม่ได้
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ บวม ตึง แข็ง และมีสีคล้ำเนื่องจากมีเลือดปะปนอยู่ ผิวหนังพอง
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
แขน มือ และนิ้วท้าให้มือและนิ้วหงิกงอ ใช้ การไม่ได้
ป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุดขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่ ๆ
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือกจะงอได้มากแค่ไหนควรใช้การจับชีพจรเป็นหลัก
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าพันธรรมดา
โรคคอเอียงแต่กำเนิด
อาการ
มักคล้าพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อยๆยุบลงไป
ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศีรษะบิดเบี้ยวไม่สมดุล
รักษา
การยืดโดยวิธีดัด
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง
การใช้อุปกรณ์พยุง ปรับต้าแหน่งศีรษะ
การผ่าตัด
กระดูกสันหลังคด
มีลักษณะของกระดูกสันหลังผิดรูป เริ่มโค้งงอไปทางด้าน ข้าง
อาการ
ทรวงอกเคลื่อนไหวจ้ากัด มักหายใจตื้น หายใจลึกท้าได้ยาก
.พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวกลางตัว
.กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออกจะฝ่อลีบและบาง
ข้อศอกและขอบกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
เกิดอาการปวดเมื่อหลังคดมาก แต่ในเด็กพบอาการปวดไม่บ่อย
รักษา
การใส่อุปกรณ์ดัดล้าตัว (Brace)
การรักษาแบบผ่าตัด
โรคที่สามารถพบได้
โรคกระดูกอ่อน
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของล้าไส้
ภาวะฟอสเฟตต่ำ
อาการ
วามตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น
กะโหลก นิ่ม หน้าผากนูน ฟันขึ้นช้า ผมร่วง
พบขาโก่ง ขาฉิ่ง กระดูกสันหลังคด หรือหลังค่อม ท่าเดินคล้ายเป็ด
รักษา
แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
ให้วิตามินดี
Bone and Joint infection
ตรวจพบเชื้อโรคจากกระดูกหรือเนื้อเยื่อติดกับกระดูกนั้นหรือผลตรวจ ชิ้นเนื้อแสดงถึงการติดเชื้อ
วินิจฉัย
อุณหภูมิร่างกาย > 38.3 องศาเซลเซียส
มีอาการปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
Osteomyelitis
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย,เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก
วินิจฉัย
ประวัติมีอาการปวด เด็กเล็กแสดงออกโดยไม่ใช้แขน ขา ส่วนนั้นทารกนอนนิ่งไม่ขยับแขนขาข้างที่เป็น
การตรวจร่างกาย มีปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่ ปวดมากขึ้นถ้ากดบริเวณนั้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล CBC พบ Leucocytosis , ESR , CRP มีค่าสูง ผล Gram stain และ culture ขึ้นเชื้อที่เป็นสาเหตุ
การตรวจทางรังสี
Plain flim พบเนื้อเยื่อส่วนลึกบวม
Bone scan ได้ผลบวก บอกต้าแหน่งได้เฉพาะ
MRI พบ soft tissue abcess , bone marrow edema
รักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
ข้ออักเสบติดเชื้อ
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่น จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ แบคทีเรีย
วินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิค มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อข้อ
ผล Lab เจาะดูดน้้าในข้อมาย้อมgram stain ผล CBC พบ ESR,CRP สูงขึ้น เล็กน้อย
การตรวจทางรังสี
Plain flim อาจพบช่องระหว่างข้อกว้าง
Ultrasound บอกถึงภาวะมีน้้าในข้อมาก หรือเคลื่อนหลุด
Bone scan / MRI ช่วยบอกถึงการติดเชื้อกระดูก
รักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด ได้แก่ Arthrotomy and drainage
Tuberculous Osteomyelitis
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอด
อาการ
กระดูกจะบางลงหรือแตกนอกกระดูกเกิดเป็นโพรงหนองที่ไม่มีลักษณะการอักเสบหรือแตกเข้าสู่ข้อ ใกล้เคียง
จะทำลายกระดูกอ่อนของผิวข้อ
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้้าหนักลด มีไข้ต่ำๆ
รักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง
ฝ่าเท้าแบน
อาการ
ปวดฝ่าเท้า
ปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
สาเหตุ
เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
รักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
มะเร็งกระดูก
พบในเด็ก >ในผู้ใหญ่ พบในเพศชาย > เพศหญิง พบ
อาการ
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้้าหนักลด มีไข้
การเคลื่อนไหวที่เป็นผิดปกติ รับน้ำหนักไม่ได้ มักมีประวัติการเกิดอุบัติเหตุ
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น ๆ
รักษา
การผ่าตัด
เคมีบ้าบัด
รังสีรักษา
Omphalocele
การใช้อัลตราซาวนด์ตรวจทารกในครรภ์มารดาสามารถ วินิจฉยัภาวะ omphalocele ได้
อวัยวะที่อยู่ ในถุงอาจประกอบไปด้วยลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่
กระเพาะอาหาร ม้าม และตับ
รักษา
conservative ใช้สารละลายฆ่าเชื้อ เหมาะสำหรับในรายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่
การผ่าตัด
Gastroschisis
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดเกดิเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลงัจากผนังช่องท้อง พัฒนาสมบูรณ์แล้ว เกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
การพยาบาล
การอาบน้ำไม่ต้องทำเนื่องจากจะทำให้เด็กก็ตัวเย็นมากขึ้น
ให้ vitamine K 1 mg intramuscular
การรักษาความอบอุ่น
decompression stomach
การค้นหาความพิการร่วม