Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ผิดปกติระบบกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ผิดปกติระบบกล้ามเนื้อ
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
จากกล้ามเนื้อด้านข้างคอ (Sternocleidomastoid) ที่เกาะยึดระหว่างระดูกด้านหลังหู กับส่วนหน้าของกระดูกไหปลาร้าหดสั้นลง ทำให้ศีรษะเอียงไปด้านที่กล้ามเนื้อหดสั้น
สาเหตุ
จากเนื้อเยื่อบริเวณคอถูกกดขณะคลอดหรือทารก
อยู่ในตำแหน่งที่ไม่เหมาะสมในครรภ
ข้างคอเสียหาย กลายเป็นพังผืด กล้ามเนื้อหดสั้นลง
พบได้ในเด็กตั้งแต่อายุ 1 เดือนหลังคลอด
การวินิจฉัยโรค
ภาพรังสีกระดูกคอ
ปรึกษาแพทย์เฉพาะทางในเรื่องที่เกี่ยวข้อง เช่นจักษุแพทย
การรักษา
การยืดกล้ามเนื้อข้างคอที่หดสั้น
ทำในเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี
การยืดด้วยวิธีดัด (passive stretch) ควรหยุดทำ
ถ้าเด็กดิ้นหรือฝืน
การยืดแบบที่ให้เด็กหันศีรษะเอง (active stretch)
วิธีนี้มีความปลอดภัยมากกว่า
การใช้อุปกรณ์พยุง (Orthosis) ปรับตำแหน่งศีรษะ
การผ่าตัดเพื่อแก้ปัญหากล้ามเนื้อหดสั้น
เหมาะสมที่สุดคือ 1-4 ปี
การตัดปลายยึดเกาะของ
กล้ามเนื้อด้านข้างคอ ทั้งสองปลาย (bipolar release)
Cerebral Palsy
ความพิการทางสมอง จะมีการเคลื่อนไหวร่างกายที่ผิดปกติการขยับ
แขนขา ลำตัวใบหน้า ลิ้น รวมถึงการทรงตัวที่ผิดปกติ
มักจะมีปัญหาในการควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ,ปัญหาการพูดการกินมีค่า ,IQ มากกว่า 70
สาเหตุ
ก่อนคลอด
มาจากการติดเชื้อ
มารดาเป็นโรคแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์เช่นความดันโลหิตสูง
ระหว่างคลอด
คลอดยาก , สมองกระทบกระเทือน
ทารกคลอดก่อนกำหนด
หลังคลอด
เนื้อสมองเจริญเติบโตไม่สมบูรณ์
แบ่งได้ 4 ประเภท
spastic cerebral palsy
Hemiplegia :ของแขนและขาข้างใดข้างหนึ่ง
Double hemiplegia :มีลักษณะของ hemiplegia ทั้ง 2 ข้างเพียง
quadriplegia: พวกนี้มีinvolvement ของทั้งแขนและขาทั้ง 2 ข้างเท่า ๆ
Diplegia: involved มากเฉพาะที่ขาทั้ง2ข้างแขนทั้ง2ข้างgross movement
อื่นๆพบน้อยมากโดยเฉพาะ paraplegia
Ataxic cerebral palsy
Athetoid cerebral palsy
Mixed cerebral palsy
การรักษา
กายภาพบำบัด(Physical Therapy)เรียนรู้การเคลื่อนไหว
-อรรถบำบัด (Speech and Language Therapy)ฝึกทักษะการสื่อสาร
ลดความเกร็ง โดยใช้ยา
ยากินกลุ่ม diazepam
ยาฉีดเฉพาะที่กลุ่ม Botox
การผ่าตัด
ผ่าตัดลดความตึงของกล้ามเนื้อ
การย้ายเอ็น เพื่อสร้างความสมดุลของข้อ
ผ่าตัดกระดูกในรายที่กระดูกมีความผิดรูป
Omphalocele
ความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้องที่มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ทำให้บางส่วนขาดหายไปเหลือแต่ชั้นบางๆทำให้มีอวัยวะภายในยื่นออกมาหน้าช่องท้อง
ลักษณะทางคลินิก
ภายหลังคลอดพบบริเวณกลางท้องทารกมีถุง omphalocele ติดอยู่ทึ่ผิวหนัง
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า4-10ซม. ตัวถุงเป็นรูปโดมผนังบางมองเห็นอวัยวะภายในได้
พบในทารกเพศหญิงมากกว่า ผู้ป่วยจะมีน้ำหนักตัวน้อย
การรักษา
การรักษาแบบ conservative
โดยใช้สารละลายฆ่าเชื้อ เช่นTr.Mercurochrome, povidene solution
topical antibacterial cream เช่นSilver Zinc Sulfadiazine ทาที่ผนังหน้าท้อง
เหมาะสำหรับในรายที่omphalocele มีขนาดใหญ่
การผ่าตัด operative
การเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย (primary fascial closure)
มักจะทำเมื่อomphalocele มีขนาดเล็กและอวัยวะภายในไม่มาก
การปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน (staged repair)
ผนังหน้าท้องแยกจากกัน(Gastroschisis)
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้อง พัฒนาสมบูรณ์ เกิดการแตกทะลุ hermia of umbilical cord ก่อนทารกคลอดก่อนรูสะดือเปิด มักมีขนาด 2 – 5 cms.ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ และกระเพาะอาหาร มักยื่นออกนอกช่องท้อง
การวินิจฉัย
พบว่าที่หน้าท้องจะพบจะถุงสีขาวขุ่นบางมองเห็นขดลำไส้หรือตับผ่านผนัง มีส่วนถุงบรรจุ wharton’s jelly สายสะดือติดอยู่กับตัวถุง พบ4-10 ซม.
การรักษา
ดูแลเฉพาะที่
การทำแผล สะอาด หมาดๆ ไม่รัด
ดูแลทั่วไป
การอาบน้ำไม่ต้องทำเนื่องจากจะทำให้เด็กตัวเย็นมากขึ้น
ให้ vitamine K 1 mg intramuscular
ประเมินภาวะทั่วไป ความสามารถในการหายใจ
แก้ปัญหาฉุกเฉิน
การประเมินการหายใจ เตรียม endotrachial tube, suction
Rectal irrigation ด้วย NSS อุ่น
เริ่มให้antibiotic ได้ทันที
ตรวจระดับ น้ำตาล เกลือแร่ในกระแสเลือด
การผ่าตัด
การดูแลหลังผ่าตัด
Respiratory distres:ใส่ endotrachial tube และให้muscle relaxant 1-2 วันหลังผ่าตัด
Hypothermia: ให้เด็กอยู่ในตู้อบ(incubator)ปรับอุณหภูมิตามตัวเด็ก
Hypoglycemia, Hypocalcemia : สังเกตว่าเด็กจะมี tremor
General care : จัดท่านอนหงายสังเกตการหายใจ การขับถ่าย ตรวจดูdischarge
ออกมาจากแผล , swab culture
Fluid and nutrition support
omphalocele ให้IV fluid เป็ น 10%DN/5
gastroschisis มี I nsensible loss เฉลี่ยdaily requirment
Peripheral parenteral nutrition : เริ่มให้ได้ตั้งแต่เด็ก stable หลังผ่าตัด1 วัน
Enteral nutrition : เริ่มให้ได้ตั้งแต่เด็ก stableหลังผ่าตัด 1สัปดาห์
Antibiotic prophylaxis:ให้ ampicillin และ gentamicin ประมาณ 5วัน
Wound care :gastroschisis ที่ใส่ siloก็เช็ด silo เช้าเย็นทำเช่นเดียวกับแผลผ่าตัด
การติดตามการรักษา
เด็กจะมีน้ำหนักตัวน้อยกว่าปกติเข้าสู่ภาวะเดิมเมื่อ 6 เดือน