Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กทีมีปัญหาระบบประสาท, นางสาวนพวรรณ ผายชำนาญ เลขที่ 33 ห้องB…
การพยาบาลเด็กทีมีปัญหาระบบประสาท
โรคลมชัก (Epilepsy)
ชักซ้ำๆ อย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป และ ชักครงั้ที่ 2 ห่างกันมากกว่า 24 ชม
สาเหตุ
1.ทราบสาเหตุ : ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง ,อันตรายระหว่างการคลอด/หลังคลอด
2.ไม่ทราบสาเหต ุ: ความผดิปกตขิอง Neurotransmission
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้ : มีพยาธิสภาพภายในสมอง ใน กลุ่ม Symtomatic epilepsy
อาการและอาการแสดง
Preictal period ระยะก่อนชักจะมีอาการนำมาก่อนและมี อาการเตือนคือ ปวด ชา เห็นภาพหลอน
Peri-ictal period เกิดไม่นานเกินครึ่ง ชั่วโมงเกิดทันทีไม่เกิน5นาที
Postictal period ชักสิ้นสุดลงอาจเกิดนานหลายวันมีอาการคือสับสนอ่อนแรงเฉพาะที่
Interictal peroid ช่วงเวลาระหว่างการชักอาจพบคลื่นไฟฟ้า ผิดปกติ
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญ
มีก้อนที่หลังหรือที่หน้าผากแขน ขาอ่อนแรงทั้งสองข้างควบคุมการขับถ่ายไม่ได้มี ไข้ร่วมกับอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง
การวินิจฉัย
ประวัติมารดาไม่ได้รับโฟลิคขณะ ตั้งครรภ์ได้ยากันชักประเภท Valporic acid
Spina bifidaมีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลัง
Spina bifida occultaเกิดเป็นช่อง โหว่ระหว่างแนวกระดูกสันหลัง ไม่ จำเป็นต้องรักษา
Spina bifida cysticaมีการยื่นของ กระดูกไขสันหลังเห็นเป็นถุงหรือ ก้อน แบ่งเป็น
Myelomeninggocele ก้อนมี เยื่อหุ้มสมองน้ำไขสันหลัง และไขสันหลังอันตรายอาจ ทำให้เกิดความพิการ
Meningocele ไม่มีเนื้อเยื่อ ประสาทและไขสันหลังไม่ เกิดอัมพาต
ต้องผ่าตัดภายใน 24 - 48 ชั่วโมง ภายหลังเกิดเพื่อลดการติดเชื้อ
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
อาการ
กระหม่อมหน้าโป่ง ตึงมีรอยแยกของกระโหลก ศีรษะมากขึ้นอาเจียน กระโหลกศีรษะโตมาก จอประสาทตาบวม
การรักษา
รักษาเฉพาะรักษาจากสาเหตุ เช่น เนื้องอกการอุดกั้นของทางเดินน้ำไขสันหลัง การรักษาเบื้องต้นกรณีมี IICP สูงอย่างเฉียบพลัน
จัดท่านอนศีรษะสูง 15 - 30 องศาเพื่อช่วยให้การไหลเวียนกลับของน้ำไขสันหลังกลับเข้าสู่หัวใจได้ดีขึ้น
การพยาบาลเด็กที่ไม่รู้สึกตัว
ระบบหายใจ
ดูแลไม่ให้มีอาหารและ เศษอาหารอยู่ในช่องปาก
ดูดเสมหะ
จัดท่านอนตะแคงข้าง เพื่อป้องกันการสำลัก
แรงดันภายในสมอง
จัดท่านอนให้สูง 15 - 30 องศา สะโพกงอไม่เกิน 90 องศา
ป้องกันไม่ให้ท้องผูกดูแลให้ยาแก้ปวด ตามแผนการรักษา รบกวนให้น้อยที่สุด
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้เกิดแรงดันในสมองเพิ่มเช่นการก้มหรือเงยคือเต็มที
ภาวะน้ำคั่งในกะโหลก ศีรษะ (Hydrocephalus)
อาการสำคัญ
กระหม่อมหน้าโป่ง ตึงมีรอยแยกของกระโหลก ศีรษะมากขึ้นอาเจียน กระโหลกศีรษะโตมาก จอประสาทตาบวม
การรักษา
รักษาด้วยยาขับปัสสาวะ Acetazolamideช่วยลดการสรา้งน้ำหล่อ สมองและไขสันหลังประมาณ25 - 50%
การรักษาโดยการผ่าตัด การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย (ExternalVentricularDrainage, EVD)
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ ช่องในร่างกาย
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการสำคัญ
ไม่รู้สึกตัวเกร็งเมื่อถูกกระตุ้น การหายใจไม่มีประสิทธิภาพดูดกลืน บกพร่องมีประวัติสมองขาดออกซิเจน Cerebral palsyมีการเจริญเตบิโตช้าปัญญา
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Splastic diplegia แขนขาทั้ง2ข้างขาเป็นมากกว่า
Splastic quadriplegia กล้ามเนื้อแขนขา2ข้างคอ ลำตัวอ่อนผิดปกติ
Splastic hemiplegia ผิดปกติที่แขนขาซึกใดซีกหนึ่ง
สมองพิการ
Mixed type หลายอย่างร่วมกัน
Ataxia cerebral palsy เดินเซ ล้มง่าย ทรงตัวไม่ดี
Athetoidsis การเคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
การอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมองชั้นในสุดและชั้น Arachnoid
เกิดจากเชื้อแบคทเีรีย Haemophilus influenzae, Neisseria meningitidis, Streptococcus peumoniae
อาการ
ไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ คอแข็ง
ตรวจพบ
Kernig sign,Brudzinski sign ให้ ผลบวก) และ Babinski ได้ผลบวก
การประเมิน
Meningeal Irritation ตรวจ CSF
ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
ความผิดปกติของระบบประสาทก่อนมีอาการชัก
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
ไข้ + ติดเชื้อ
ชักครั้งแรกก่อนอายุ 1 ปี
ชนิดการชักจากไข้สูง
1.Simple febrile seizure (primary febrile seizure)
ชักแบบทั้งตัว (generalized seizure)
ไม่เกิน 15 นาที
ไม่มีการชักซ้ำ
ก่อน – หลัง ชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
2.Complex febrile seizure
ชักแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว
ชักมากกว่า 15 นาท
ชักซ้ำ
หลังชักมีความผิดปกติทางระบบประสาท
มีอัตราเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคลมชัก
อาการ
ชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส
เกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข
การป้องกันผู้สัมผัสโรค
ให้วัคซีนป้องกันโรค
ผู้ที่อยู่ในบ้านเดียวกันหรือผู้ใกล้ชิดต้องได้รับยาป้องกันคือ Rifampicin หรือ Ceftriaxone หรือ Ciprofloxacin
ให้ความรู้ในการป้องกันโรคแก่ประชาชน
ถ้าต้องเดินทางไปในที่ที่มีการระบาดให้ฉีดวัคซีนป้องกัน เพื่อช่วยลดความเสี่ยงตดิโรค
ไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis)
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง จ้ำ เลือด (pink macules
การรักษา
Glucocorticoid therapy ก่อน การให้ยาปฏิชีวนะ15นาที ยาปฏิชีวนะ เชน่ Ceftriaxone/PGS/Chloramphenicol การ รักษาแบบประคับประคองและตามอาการ
สาเหต
เกดิจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides
การตรวจวเิคราะห์ยืนยันเชื้อก่อโรคกาฬหลังแอ่น
วิธีทางชีวเคมี PCR
วิธีตรวจหาค่า Minimum inhibition concentration (MIC)
วิธีการติดต่อ
ตดิต่อจากคนสู่คน โดยน้ำมูกน้ำลาย (droplet) ระยะฟักตัวประมาณ 2 - 10 วัน
นางสาวนพวรรณ ผายชำนาญ เลขที่ 33 ห้องB รหัสนักศึกษา613601141