Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมบน พื้นฐานทฤษฎีการดูแลด้วยความ เอื้ออาทรแก่บุคคลที่มีปั…
การพยาบาลแบบองค์รวมบน พื้นฐานทฤษฎีการดูแลด้วยความ เอื้ออาทรแก่บุคคลที่มีปัญหา สุขภาพจิตและจิตสังคม
ผู้ที่มีความวิตกกังวล/เครียด
ผู้ที่มีความวิตกกังวล
ความรู้สึกไม่สบาย สับสนต่อสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง ที่เกรงว่าจะเกิดอันตราย ซึ่งอาจเกิดขึ้นจริงหรือคิดขึ้นเอง ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงท้ังร่างกายและพฤติกรรม
สาเหตุ
สาเหตุทางด้านชีวภาพ
ด้านกายภาพของระบบประสาท (Neuroanatomical Factors)
ด้านชีวเคมี (Biochemical Factors)
-ด้านการเจ็บป่วย (Medical Factors)
สาเหตุทางด้านจิตสังคม
ด้านจติวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory)
ด้านพฤติกรรมและการรู้คิด (Cognitive-Beha vioral Theory)
สาเหตุทางด้านสังคม
ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เชื่อว่าความวิตกกังวลเกิดจากสัมพันธภาพระหว่างบุคคลไม่ดี
ความวิตกกังวลก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของบุคคล
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย เช่น ระบบหัวใจและหลอดเลอืด ระบบทางเดินหายใจ เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจและอารมณ์
การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
การเปลี่ยนแปลงด้านสติปัญญา
ประเภท
วิตกกังวลปกติ (Normal anxiety)
ความวิตกกังวลเฉียบพลัน (Acute anxiety)
ความวิตกกังวลเรื้อรัง (Chronic anxiety)
ระดับของความวิตกกังวล
ความวิตกกังวลต่ำ(Mild Anxiety)
ความวิตกกังวลปานกลาง(Moderate Anxiety)
ความวิตกกังวลรุนแรง (Severe Anxiety)
ความวิตกกังวลรุนแรงสูงสุด (Panic Anxiety)
ความเครียด (Stress)
ปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกายและจิตใจที่มีต่อสิ่งกระตุ้น (Stressor) และบุคคลนั้นได้ ประเมินแล้วว่าสิ่งกระตุ้นนั้นคุกคาม หากบุคคลมีความเครียดระดับสูงและสะสมอยู่นานๆจะก่อให้เกิดโรคทางกายและทางจิตได้
สาเหตุ
-สาเหตุภายนอกตัวบุคคล
-สาเหตุภายในตัวบุคคล
ปฏิกิริยาตอบสนอง
การตอบสนองด้านร่างกาย
ระยะเตือน (Alarm Reaction
ระยะช็อก (Shock Phase)
ระยะตอบสนองการช็อก (Counter Shock Phase)
ระยะการต่อต้าน (Stage of Resistance)
ระยะหมดกำลัง (Stage of Exhaustion)
การตอบสนองด้านจิตใจ
หนีหรือเลยี่ง (Flight)
ยอมรับและเผชิญกับความเครียด (Fight)
เรียนรู้ที่จะอยู่กับความเครียด (Coexistence)
ระดับของความเครียด
-Mild Stress
-Moderate Stress
-Severe Stress
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความวิตกกังวล/เครียด
วิตกกังวลเนื่องจากไม่สามารถแก้ปัญหาได้/รับรู้ว่าถูกคุกคาม
มีการเผชิญปัญหาไม่เหมาะสมเนื่องจากรู้สึกหวาดหวั่นกังวลใจ
มีความรู้สึกหวาดกลัวอย่างมากจากการคิดล่วงหน้าว่าอาจมีอันตรายเกิด ขึ้นกับตน
ถูกบีบคั้นทางจิตใจเนื่องจากรู้สึกว่าถูกคุกคามความปลอดภัยในชีวิต
ผู้ที่ประสบภาวะสูญเสีย เศร้าโศก
การสูญเสีย (Loss) สภาพการณ์ที่บุคคลต้องแยกจากสูญหาย
ภาวะเศร้าโศก (Grief) ความรู้สึกเสียใจที่เกิดขึ้นเมื่อคาดว่าจะมีการสูญเสียหรือรับรู้ว่าตนเองสูญเสีย
ประเภทของการสูญเสีย
1.การสูญเสียความสมบูรณ์ทางสรีระ จิตใจและสังคม
2.การสูญเสียบุคคลสำคัญของชีวิต
3.การสูญเสียสมบัติหรือความเป็นเจ้าของ
การสูญเสีย ๕ ลกัษณะ
มาสโลว์
การสูญเสียทางด้านร่างกาย (Physiologic loss)
การสูญเสียความปลอดภัย (Safety loss)
การสูญเสียความมั่นคงและความรู้สึกเป็นเจ้าของ (Loss of security and a sense of belonging)
การสูญเสียความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง (Loss of self-e steem)
การสูญเสียที่สัมพันธ์กับการบรรลุถึงความเป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ (Loss related to self-actualization)
ปฏิกิริยาต่อการสูญเสียของบุคคล 3 ระยะ
ระยะช็อก (Shock and Disbelief)
ระยะพฒันาการตระหนกัรู้ถึงการสูญเสีย (Developing Awareness)
ระยะพักฟื้น (Restitution)
Elisabeth และ Kubler-Ross
ปฏิเสธ (Denial)
โกรธ (Anger)
ต่อรอง (Bargaining)
ซึมเศร้า (Depression)
ยอมรับ (Acceptance)
การพยาบาลผู้ที่มีภาวะสูญเสีย/เศร้าโศก
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าอย่างมากจากการสูญเสีย บุคคลอันเป็นที่รัก
นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าจากการสูญเสีย
ขาดทักษะในการเผชิญปัญหาเมื่อต้องสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
มีความรู้สึกผิดและโทษตนเองว่าเป็นสาเหตุของการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
ผู้มีภาวะซึมเศร้า
การที่บุคคลมีพฤติกรรมที่เกิดจากภาวะจิตใจที่หม่นหมอง หดหู่พฤติกรรมเศร้าเหล่านี้เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาที่ยาวนานและกระทบกระเทือนต่อวิถีการดำเนินชีวิตปกติ
กลไกการป้องกันตนเองในบุคคล
1.การถดถอย Regression
2.การสะท้อนเข้าสู่ตนเอง Introjections
3.การสะท้อนไปสู่บุคคลอื่น Projection
ระดับความรุนแรง
Blue Mood
Moderate Depression
Severe Depression
กลไกการเกิดภาวะซึมเศร้า
แนวคิดด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพทางชีวเคมีในร่างกาย พบว่าผู้ที่มี พฤติกรรมซึมเศร้าเกิดจากการลดน้อยลงของสารจำพวกBiogenic Amin es ในระบบประสาทส่วนกลาง
แนวคิดด้านกลไกของจิตใจ อธิบายว่าผู้ที่มีพฤติกรรมซึมเศร้า มีสาเหตุสำคัญมาจากความเจ็บปวดที่เกิดจากการสูญเสีย (Loss) ในสิ่งที่มีความหมายต่อตนเอง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้า
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าในระดับรุนแรง
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำเนื่องจากเคยมีประวัติการฆ่าตัวตายมาแล้ว 1 ครั้ง
นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าในระดับรุนแรง
ขาดทักษะในการเผชิญปัญหาต่างๆของชีวิตเนื่องจากคิดว่าตนเองไร้ค่าและไม่มีความหมาย
ผู้ที่มีปัญหาฆ่าตัวตาย
การมีความคิดอยากทำร้ายตนเองเนื่องจากมีความรู้สึกหมดหวังในชีวิตถ้าคิดซ้ำซากเป็นพยาธิสภาพ การฆ่าตัวตายเป็นพฤติกรรมผิดปกติ
ประเภทของการฆ่าตัวตาย
-การพยายามฆ่าตัวตาย
-การฆ่าตัวตายแบบคุกคาม
-การฆ่าตัวตายสำเร็จ
-การฆ่าตัวตายแบบประท้วง
-การฆ่าตัวตายแบบรุนแรง
สาเหตุ
เช่น ปรับตัวต่อความตึงเครียดที่ท่วมท้นไม่ได้ ,รู้สึกถูกทอดทิ้ง ,มีความรู้สึกโกรธและไม่เป็นมิตรกับบุคคลอื่น เป็นต้น
กลุ่มบุคคลที่มีความเสี่ยงสูง
เช่น
ผู้ที่มีสุขภาพทางกายไม่ดี
บุคคลที่อยู่ตัวคนเดียว
ชนกลุ่มน้อยที่มีความรู้สึกด้อย ช่วยตนเองได้น้อย
บุคคลที่เคยพยายามฆ่าตัวตายมาแล้ว เป็นต้น
การพยาบาลผู้ป่วย
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าในระดับรุนแรง ละเคยมีประวัติการฆ่าตัวตาย
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเนื่องจากรู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่า และใช้กลไกการเผชิญปัญหาไม่เหมาะสม
ผู้ที่มีภาวะวิกฤติทางอารมณ์
ภาวะที่บุคคลเผชิญปัญหาและแก้ไขปัญหานั้นไม่ได้ ทำให้เกิดความเครียดภาวะวิกฤติเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ให้โอกาสบุคคลเลือกหนทางที่จะไปสู่พฤติกรรมที่เลวร้าย หรือพฤติกรรมการเผชิญปัญหาที่มีประสิทธิภาพเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
ความรู้สึกและปฏิกิริยาตอบสนอง
มีความวติกกงัวล (Anxiety)
มีความรู้สึกหมดหนทาง (Helplessness)
มีความรู้สึกผิดและละอาย (Guilt and shame)
ความโกรธ (Anger)
ลำดับขั้นตอนของภาวะวิกฤติ
ระยะก่อนวิกฤติ Precrisis period
ระยะวิกฤติ Crisis period
ระยะหลังภาวะวิกฤติ
ประเภทของภาวะวิกฤติ
สถานการณ์วิกฤติ (Situational crisis) เกิดขึ้นเมื่อเหตุการณ์ภายนอก ทำให้อารมณ์ไม่ดีเสียความสมดุลของจิตใจ เช่น เสียคนรัก
พัฒนาการวิกฤติหรือวัยวิกฤติ (Maturation crisis) เหตุการณ์วิกฤติที่เกิดขึ้นตามช่วงวัยต่างๆของกระบวนการเจริญเติบโต สามารถเตรียมการและรับมือล่วงหน้าได้
ภาวะวิกฤติจากภัยพิบัติธรรมชาติ (Adventitious crisis) เช่น ไฟไหม้บ้าน
การพยาบาลผู้ป่วย
เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเองเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าอย่างรุนแรงจากสถานการณ์ วิกฤติของชีวิต
เสี่ยงต่อภาวะเส้นเลือดในสมองแตกเนื่องจากมีความดันโลหิตสูงขึ้นสัมพันธ์กับสถานการณ์วิกฤติของตนเอง และครอบครัว
วิธีการเผชิญปัญหาขาดประสิทธิภาพเนื่องจากรู้สึกผิดและคิดว่าตนเองไร้ค่า
แบบแผนการนอนหลับพักผ่อนเปลี่ยนแปลงจากการมีความเครียดสูงต่อสถานการณ์วิกฤติของชีวิต
นางสาวสุชานาถ ศรีสุขใส เลขที่68