Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
ปัญหาระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกหัก
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง หรือมีเพียงบางส่วนติดกันหรือเป็นเพียงแตกร้าว
บริเวณที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
อาการและอาการแสดง
ปวด บวม ข้างที่เป็น
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับล้าตัวพันนาน 10-14 วันระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้
ติดกับล้าตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าส้าลี คล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิด มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทำคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
ส่วนในเด็กโต อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง จะพบหัวไหล่บวม ช้้า เวลาจับไหล่หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด
การหักของกระดูกบริเวณนี้ อาจให้ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้นาน ประมาณ 2 - 3 สัปดาห์
ในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมากๆควรตรึงแขนด้วย traction ตรึงไว้นาน ประมาณ 3 สัปดาห์ อาจทำ skin traction หรือ skeletal traction ก็ได้
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย
เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียด
ตรง หรือข้อศอกงอ เด็กจะปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมากพบบ่อยในเด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน
โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น “ Volkman’s ischemic contracture ” กระดูกหักบริเวณนี้อาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของกระดูก Humerus
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส (Transient subluxation of radial head , pulled elbow )
เป็นการเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด พบได้บ่อยในเด็กอายุต่้ากว่า 6
ปี เกิดจากการหยอกล้อ แล้วดึงแขนหรือหิ้วแขนเด็กขึ้นมาตรงๆในขณะที่ข้อศอกเหยียดและแขนท่อนปลายคว่้ามือ
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น เกิดจากการกระท้าทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
พบได้ทุกวัย โดยเฉพาะอายุ 2 - 3 ปี ส่วนมากจะเกิดกับเด็กชายมากกว่า เพราะซุกซนกว่า
ต่ำแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา
เด็กจะปวด บริเวณข้างที่หัก บวมตรงต้าแหน่งกระดูกถ้าอายุต่ำกว่า 3 ปี แก้ไขโดยให้ใส่เฝือกขาแบบยาวนาน 3-4 สัปดาห์
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
ข่ายประสาท brachial plexus เป็นการรวมตัวของรากประสาทไขสันหลังส่วน ventral rami ระดับ C5-T1ซึ่งเป็นเส้นประสาทที่เลี้ยงกล้ามเนื้อและรับความรู้สึกจากบริเวณไหล่จนถึงปลายมือเมื่อมีภยันตรายต่อข่ายประสาทมีผลให้เกิดอาการแขนอ่อนแรง
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด ได้แก่ การคลอดท่าก้น ภาวะคลอดติดไหล่ เด็กมีน้้าหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน
การวินิจฉัย
จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
ในผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จ้าเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
สาเหตุ
เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุน้ามาก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่สูง
จากการกระตุ้นทางอ้อม เช่น หกล้ม เอามือยันพื้นกระดูกฝ่ามือไม่แตกกลับไปแตกบริเวณเหนือข้อมือ
อาการและอาการแสดง
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
3.รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
ข้อเคลื่อน
ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่ หรือหลุดออกจากเบ้า ซึ่งการบาดเจ็บของข้อและกระดูกยังส่งผลให้เนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้้าเหลือง เส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตรายด้วย
การเข้าเฝือกปูน
การจัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมง ซึ่งประเมินได้จาก 5 PS หรือ 6P
Pulselessness ชีพจรเบา,เย็น
Pallor ปลายมือปลายเท้าซีด หรือเขียวคล้ำ
Paresthesia ชา ขาดความรู้สึก
Paralysis เส้นประสาทถูกกด เคลื่อนไหวไม่ได้
Pain มีอาการเจ็บมากกว่าเดิม
Puffiness or Swelling มีอาการบวมมากขึ้น
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
การยกหรือเคลื่อนย้ายเด็ก ต้องระวังเฝือกหัก
ระมัดระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้ำ
แนะนำเด็กและญาติในการดูแลเฝือก
การดึงกระดูก (Traction)
การดูแลให้การดึงกระดูกมีประสิทธิภาพตลอด
ดูแลแรงดึงสมดุลเพียงพอกับน้ำหนักผู้ป่วย 1/5 ปอนด์ต่อน้ำหนัก 1 กิโลกรัม
น้ำหนักที่ใช้ถ่วงแขวนลอยอิสระไม่แตะพื้นหรือข้างเตียงขณะดึงกระดูกควรจัดท่านอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของ Traction
ขณะดึงกระดูกควรจัดท่านอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของ Traction ควรใช้ผ้าตรึงตัวเด็กให้ถูกกับposition ของ traction นั้นๆ
รายที่ทำ Skeletal Traction ต้องสังเกตอาการติดเชื้อบริเวณที่เหล็กดึงกระดูก
สังเกตการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย
จะต้องไม่เอาน้ำหนักออก หรือถอด traction เองจนกว่าแพทย์สั่ง
ชนิดของ Traction
Bryant’s traction
ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก ( fracture shaft of femur ) ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบ หรือน้ำหนักไม่เกิน 13 กิโลกรัม
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limb
ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน
เป็นการเข้า traction ในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา กับลำตัว ในรายที่ผู้ป่วยแขนหักแล้วมีอาการบวมมากยังไม่สามารถ reduce และใส่เฝือกได้
Dunlop’s traction
ใช้กับเด็กในรายที่มี Displaced Supracondylar Fracture ที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่ ( reduce ) ได้หรือในรายที่มีอาการบวมมาก บางกรณีใช้เพียงเพื่อดึงให้ยุบบวมแล้วจึง reduce ใหม่
Skin traction
ใช้ในรายที่มี facture shaft of femur ในเด็กโต อายุมากกว่า 3 ขวบขึ้นไปtraction แบบนี้อาจเกิดปัญหาการกด peroneal nerve ทำให้เกิด foot drop ได้
Russell’s traction
ใช้ในเด็กโตที่มี Fracture shaft of femur หรือ fracture บริเวณ supracondyla region of femur การทำ traction ชนิดนี้อาจเกิดปัญหาการผ้า sling ที่คล้องใต้ขาไปกดเส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข่าได้
open reduction internal fixation (ORIF)
เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้อาจใช้ plate , screw, nail หรือ wire แพทย์จะพิจารณาท้าในรายที่กระดูกหักมาก เกิดอันตรายต่ออวัยวะโดยรอบ
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
ด้านร่างกาย
การเตรียมผิวหนังเฉพาะที่
การดูแลความสะอาดของร่างกาย อาบน้้า แปรงฟัน ในเด็กเล็กอาจใส่ผ้าอ้อมส้าเร็จรูป การส้ารวจว่ามีฟันโยกในเด็ก
การตรวจวัดสัญญาณชีพ / ผู้ป่วยจะได้รับการตรวจชีพจร เช้า เย็น
การประเมินอาการของระบบประสาท และหลอดเลือด
5.การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า/ยา/เอกสารใบเซ็นยินยอม/ผล Lab/ผล X-ray
ด้านจิตใจ
ให้คำแนะน้าเกี่ยวกับการผ่าตัดแก่ผู้ป่วย (เด็กโต) และญาติ
สภาพแวดล้อมภายในห้องผ่าตัด
ขั้นตอนในการผ่าตัดโดยสังเขป
การปฏิบัติตัวภายหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด
ประเมินการไหลเวียนของอวัยวะส่วนปลาย ด้วยการทดสอบการไหลเวียนเลือด (blanching test)
จัดท่าเด็กโดยยกส่วนที่ท้าผ่าตัดให้สูงกว่าระดับหัวใจ เพื่อลดอาการบวม และปวด
การท้าแผล จะเปิดท้าแผลทุกวันหรือไม่เปิดท้าแผลเลยจนกว่าจะตัดไหมขึ้นกับลักษณะของแผล การตัดไหมมักจะเอาไว้อย่างน้อย 10-14 วัน
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดเคลื่อนไหว
ป้องกัน/ลดอาการข้อติดแข็ง กล้ามเนื้อลีบกระตุ้นให้เด็กมีการออกกำลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ ด้วยการเปลี่ยนท่าที่เหมาะสมให้เด็กอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการ เคลื่อนไหว จัดอาหารที่มีกากมาก ดื่มน้้าให้เพียงพอ
ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที่ด้วยการกระตุ้นให้เด็กหายใจเข้าออกลึกๆแรงๆหลายๆครั้ง
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ท้าความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือกที่ด้วยการชะล้างสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในบาดแผลออกให้หมด
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้นจาก ลักษณะแผล สิ่งคัดหลั่ง อาการบวมแดง
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
การพยาบาลเพื่อลดความ เครียดวิตกกังวลเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจของเด็กและญาติ
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กและญาติที่มีต่อการรักษาพยาบาลและตัวบุคลากร
จัดกิจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด็กและญาติให้มีการระบายออก
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ แต่ต้องประเมินอาการปวดด้วย
การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
กรณีเด็กได้รับการผ่าตัด อาจมีการรัดโดยส้าลีพันเฝือกบริเวณข้อศอก ข้อเข่า ควรคลาย ส้าลีพันเฝือกให้
ถึงผิวหนังเด็ก
ผู้ป่วยที่ได้รับการยึดด้วย Kirschner wire ผ่านผิวหนังออกมาข้างนอกเพื่อสะดวกในการถอด ต้องหมั่น
ท้าแผลจนกว่าจะถึงเวลาที่ถอด
การพยาบาลเพื่อให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
การดูแลแผลผ่าตัด ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้้าหรือสกปรก
ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
ควรสังเกตอาการผิดปกติที่จ้าเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที ได้แก่ เฝือกมีกลิ่นเหม็น,ปลายมือปลายเท้าชา,เขียวคล้้า,มีไข้สูง
ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดี
รักษาสุขภาพ อนามัยให้แข็งแรงอยู่เสมอ และหมั่นออกกำลังกายกล้ามเนื้อและข้อ โดยเฉพาะการกำแบมือบ่อยๆ
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
Volkmann’ s ischemic contracture ทำให้แขน มือและนิ้วหงิกงอ ซึ่งพบมากในผู้ป่วยที่มีกระดูกหักบริเวณ supracondylar of humerusและfracture both bone of forearm
แขนอยู่ในท่าคว่ำมือ (pronation)
ข้อศอกอาจจะงอ
ข้อมือพับลง (palmar flemion)
ข้อ metacarpophalangeal กระดกขึ้น หรือมี extension
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
อาจมีอัมพาต ถ้า median nerve หรือ ulnar nerve ถูกทำลาย
กล้ามเนื้อแขนลีบแข็ง
ข้อเกือบทุกข้อจะแข็ง บางรายอาจจะกระดิกได้
กล้ามเนื้อมือลีบ เหมือนกับมีอัมพาต
สาเหตุ
เกิดจากกล้ามเนื้อบริเวณ forearm ขาดเลือดไปเลี้ยง หรือมีเลือดไปเลี้ยงน้อย
เส้นเลือดแดงและเส้นเลือดดำถูกกด หรือถูกเสียดสีจนช้ำทำให้เลือดไหลกลับไม่ได้กล้ามเนื้อจะบวมตึง
ปลายกระดูกหักชิ้นบน เช่นในรายที่มีการเคลื่อนของกระดูกมาก
เลือดแข็งจับกันเป็นก้อน
งอพับข้อศอกมากเกินไป ในขณะที่บริเวณนั้นยังบวมอยู่
การเข้าเฝือก เฝือกที่เข้าไว้ในระหว่างที่การบวมยังดำเนินอยู่เมื่อเกิดอาการบวมขึ้นขึ้นเต็มที่ แต่เฝือกขยายออกไม่ได้ เฝือกจึงคับทำให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวก
การเกิด Volkmann’s ischemic contracture
ระยะเริ่มเป็น
มีบวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว เจ็บ และปวด
นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้การบวมท้าให้นิ้วแข็ง
สีของนิ้วจะขาวซีด หรืออาจจะเป็นสีคล้ำ แต่นิ้วยังคงอุ่นอยู่
มีอาการชา ชีพจร คลำไม่ได้ชัด หรือไม่ได้
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ บวม ตึง แข็ง และมีสีคล้ำ เนื่องจากมีเลือดปะปนอยู่ ผิวหนังพอง เนื่องจากกล้ามเนื้อมี fascia หุ้มอยู่ fascia นี้ขยายตัวไม่ได้มากนัก จึงทำให้เกิดความอัดดันภายในมาก เป็นเหตุให้กล้ามเนื้อถูกทำลาย
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน มือ และนิ้วท้าให้มือและนิ้วหงิกงอ ใช้การไม่ได้
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุดขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่ ๆ
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือกจะงอได้มากแค่ไหนควรใช้การจับชีพจรเป็นหลัก ต้องงอพอที่จะจับชีพจรได้เสมอ
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าพันธรรมดา การใช้ slab จะท้าให้เฝือกขยายตัวได้บ้าง ยังไม่ควรใส่ circular cast
โรคคอเอียงแต่กำเนิด(Congenital muscular Torticollis)
ศีรษะเอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่งจากกล้ามเนื้อด้านข้างคอ Sternocleidomastoid ที่เกาะยึดระหว่างกระดูกหลังหู กับส่วนหน้าของกระดูกไหปลาร้าหดสั้นลง
ทำให้เอียงไปด้านที่หดสั้นใบหน้าจะบิดไปด้านตรงข้าม สามารถสังเกตเห็นได้ตั้งแต่อายุน้อยๆ
จากการที่เนื้อเยื่อบริเวณคอถูกกดขณะคลอด ทารกอยู่ในท่าที่ไม่เหมาะสมในครรภ์ ท้าให้ใยกล้ามเนื้อเสียหายกลายเป็นพังผืด กล้ามเนื้อหดสั้นลง โรคที่อาจพบร่วม คือ ข้อสะโพกผิดปกติ เท้าผิดปกติ
อาการ
คลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อย ๆ ยุบลงไป การปล่อยให้มีภาวะคอเอียงอยู่นานจะส่งผลให้กะโหลกศีรษะ ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศีรษะบิดเบี้ยวไม่สมดุล
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ลักษณะของผู้ป่วย ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
จัดท่าให้นอนหงายจัดให้หูข้างตรงข้ามกับกล้ามเนื้อหดสั้นสัมผัสกับไหล่ข้างเดียวกัน หรือหันหน้าจัดให้คางสัมผัสกับไหล่ข้างที่กล้ามเนื้อหดสั้น
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth)
การให้เด็กหันหน้ามาด้านที่คอเอียงที่มีกล้ามเนื้อหดสั้น เช่น การให้นม หาวัตถุล่อให้มองตามจากของเล่นต่าง ๆ จัดท่าขณะนอนหลับ
การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis) ปรับต้าแหน่งศีรษะ
การผ่าตัด
ถ้ายืดกล้ามเนื้อที่หดสั้นไม่ได้ผลภายหลังอายุ 1 ปี ควรรับการรักษาโดยการผ่าตัด อายุที่เหมาะสม ในช่วงอายุ 1 – 4 ปี จะได้ผลดี โดยการผ่าตัด bipolar release ตัดปลายเอ็นยึดเกาะของกล้ามเนื้อด้านคอทั้งสองปลาย หลังผ่าตัดอาจต้องใช้อุปกรณ์พยุงคอ และต้องยืดกล้ามเนื้อเพื่อให้คอตรงและป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
พบได้มากในเด็กอายุ 6 เดือน – 3 ปี จากการขาดวิตามินดี โรคไตที่ทำให้เกิดความผิดปกติของการจับเกาะเกลือแร่ที่กระดูกอ่อน ทำให้เกิดความผิดปกติของเนื้อกระดูก ทำให้กระดูกหักง่าย ผิดรูปมีผลต่อพัฒนาการเด็ก
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้ ดูดซึมแคลเซียมกลับได้น้อย ท้องเดินเรื้อรัง
โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตต่ำ (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline Phosphatase ซึ่งเป็นตัวสำคัญที่ทำให้เกิด
การจับเกาะของเกลือแร่
อาการและอาการแสดง
ในเด็กเล็ก ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น
ขวบปีแรกเด็กจะมีความผิดรูปได้แก่ กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลง หรือกะโหลกนิ่ม หน้าผากนูน ฟันขึ้นช้า ผมร่วง
หลังหนึ่งขวบแล้วจะพบความผิดรูปมากขึ้น พบขาโก่ง ขาฉิ่ง กระดูกสันหลังคดหรือหลังค่อม ท่าเดินคล้ายเป็ด อาจเกิดกระดูกหักได้
การรักษา
แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
การป้องกัน
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อวันต่อน้ำหนักตัวสำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด
ให้ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียมเช่น ยากันชัก ยาลดกรด ยาเตรทตราชัยคลิน
ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ
Bone and Joint infection
การติดเชื้อในกระดูก (osteomyelitis) และข้อ (septic arthitis) ในเด็ก ถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องอาจทำให้เกิดความพิการตามมาได้
Definite (ติดเชื้อกระดูกอย่างแน่นอน)
ตรวจพบเชื้อโรคจากกระดูกหรือเนื้อเยื่อติดกับกระดูกนั้นหรือผลตรวจชิ้นเนื้อแสดงถึงการติดเชื้อ
Probable (น่าจะติดเชื้อที่กระดูก)
การติดเชื้อในเลือด ร่วมกับลักษณะทางคลินิค
และภาพรังสี
Likely (คล้ายติดเชื้อที่กระดูก)
พบลักษณะทางคลินิคและภาพรังสีเข้าได้กับการติดเชื้อ
ที่กระดูกตอบสนองดีต่อยาปฏิชีวนะโดยที่ไม่พบเชื้อจากการเพาะเลี้ยง
การวินิจฉัย
อุณหภูมิร่างกาย > 38.3 องศาเซลเซียส
มีอาการปวดข้อ ปวดมากเมื่อขยับข้อ ข้อบวม
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่น ๆ ร่วม
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
Osteomyelitis
พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี พบมีการติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาวมากที่สุด เช่น femur,tibia,humerus มักเป็นตำแหน่งเดียว
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย, เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก หรือจากอวัยวะใกล้เคียง การแพร่กระจายจากกระแสเลือด
การวินิจฉัย
ประวัติ มีอาการปวด ไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
การตรวจร่างกาย มีปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่ บริเวณที่มีพยาธิสภาพอาจมีความผิดปกติ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผล CBC พบ Leucocytosis ,ESR,CRP มีค่าสูง ผล Gram stain และ culture ขึ้นเชื้อที่เป็นสาเหตุ
การตรวจทางรังสี
การรักษา
ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก ทำลาย physeal plate ยับยั้งการเจริญของกระดูกตามยาว
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
สาเหตุ
จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจายจากบริเวณใกล้เคียง จากการแพร่เชื้อโรคจากกระแสเลือด เชื้อที่เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ เช่น แบคทีเรีย
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิค มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อข้อ
ผล Lab เจาะดูดน้ำในข้อ (joint aspiration) มาย้อม gram stain ผล CBC พบ ESR , CRP สูงขึ้นเล็กน้อย
การตรวจทางรังสี
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
ข้อเคลื่อน
Growth plate ถูกทาลาย
ข้อถูกทาลาย
วัณโรคกระดูกและข้อ
พบร้อยละ 4 ของการติดเชื้อวัณโรคปอด
ตำแหน่งที่พบบ่อย ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ จากการไอ จาม
เชื้อเจริญเติบโตและแพร่กระจายผ่านทาง lympho- hematogenous spread ยังอวัยวะต่าง ๆ
อาการและอาการแสดง
อาการจะเริ่มแสดงหลังการติดเชื้อประมาณ 1–3 ปีที่กระดูกรอยโรคเริ่มที่ metaphysis ของ long bone
กระดูกจะบางลงหรือแตกนอกกระดูกเกิดเป็นโพรงหนองที่ไม่มีลักษณะการอักเสบหรือแตกเข้าสู่ข้อใกล้เคียง และจะทำลายกระดูกอ่อนของผิวข้อ
เชื้อจะเข้าทางท่อน้ำเหลืองจากต่อมน้ำเหลืองข้างกระดูกสันหลังหรือระบบไหลเวียนเลือด ท่อน้ำเหลืองจากกระดูกที่ติดเชื้อใกล้เคียง เชื้อจะทาลายกระดูกสันหลัง
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆตอนบ่ายหรือเย็น
ต่อมน้ำเหลืองโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจทางรังสี
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัดเพื่อแก้การกดทับเส้นประสาท
Club Foot (เท้าปุก)
สาเหตุ
อาจเกิดจาก gene และปัจจัยส่งเสริม
เช่น แม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์
แบบทราบสาเหตุ
positional clubfoot เกิดจาก uterus impaction affect
teratologoc clubfoot เป็นชนิดที่มีความแข็งมาก พบใน Syndrome หลายชนิด เช่น arthogryposis multiplex congenita
neuromuscular clubfoot พบได้ทั้งแบบเป็นตั้งแต่เกิด / ภายหลัง
แบบไม่ทราบสาเหตุ
พบตั้งแต่กำเนิด
การรักษา
การดัดและใส่เฝือก
การผ่าตัด
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้ำหนักลด
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตาแหน่งที่เป็นผิดปกติ รับน้ำหนักไม่ได้ มักมีประวัติการเกิดอุบัติเหตุ
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น ๆ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : ระยะเวลาการมีก้อนเนื้องอก อาการปวด การเคลื่อนไหว
การตรวจร่างกาย : น้ำหนัก ตำแหน่งของก้อน การเคลื่อนไหว ต่อมน้ำเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : MRI , CT เพื่อดูการแพร่กระจายของโรค หาระดับอัลคาไลน์ฟอสฟาเตส (ALP) และระดับ แลคเตส ดีไฮโดรจิเนส (LDH) มีค่าสูงขึ้น
การรักษา
การผ่าตัด
เคมีบาบัด
รังสีรักษา
Omphalocele
เป็นความผิดรูปแต่กาเนิดของผนังหน้าท้อง โดยที่มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ ทำให้บางส่วนขาดหายไป มีแต่เพียงชั้นบางๆ
ประกอบด้วยเยื่อบุช่องท้อง Penitoeal และเยื่อ amnion ประกอบกันเป็นผนังปิดหน้าท้องคล้ายถุง ปกคลุมอวัยวะภายในที่ยื่นออกมาอยู่นอกช่องท้อง
การรักษา
conservative
ใช้สารละลายฆ่าเชื้อ (antiseptic solution) เช่น Tr.Mercurochrome, povidene solution
Silver Zinc Sulfadiazine ทาที่ผนังถุง การใช้สารละลายฆ่าเชื้อ หรือ cream ทาถุง มีผลทาให้หนังแปรสภาพเป็น eschar ที่เหนียวไม่แตกง่าย
เหมาะสำหรับในรายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่
การผ่าตัด
การเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย (primary fascial closure) ทำเมื่อ omphalocele มีขนาดเล็ก และมีอวัยวะอยู่ภายในไม่มาก
การปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน (staged repair)
Gastroschisis
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์แล้ว
เกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
การวินิจฉัย
เมื่อคลอดพบว่าที่หน้าท้องทารกจะพบถุงสีขาวขุ่นบาง ขนาดต่าง ๆ กัน สามารถมองเห็นขดลำไส้หรือตับผ่านผนังถุงอาจมีส่วนของถุงบรรจุ wharton’s jelly สายสะดือติดอยู่กับตัวถุง ขนาดที่พบตั้งแต่ 4 – 10 cm
การพยาบาล
การแก้ไขปัญหาฉุกเฉิน
Incubator หรือ ผ้าอุ่น กระเป๋าน้ำร้อน
การประเมินการหายใจ เตรียม endotrachial tube, suction
ใส่ orogastric tube ปลายเปิดลงถุง
Rectal irrigation ด้วย NSS อุ่น
เริ่มให้antibiotic ได้ทันที
ตรวจระดับ น้ำตาล เกลือแร่ในกระแสเลือดเจาะเลือดแม่เพื่อเตรียมทำการจองเลือด เผื่อว่าต้องทำการให้เลือด
การดูแลโดยทั่วไป
การอาบน้ำ ไม่ต้องทำเนื่องจากจะทำให้เด็กตัวเย็นมากขึ้น
ให้ vitamine K 1 mg intramuscular
การรักษาความอบอุ่น
ประเมินภาวะทั่วไป ความสามารถในการหายใจ
decompression stomach
การค้นหาความพิการร่วม
การดูแลเฉพาะ
การทำแผล สะอาด หมาดๆ ไม่รัด