Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหัก โครงสร้างหรือส่วนประกอบแยกออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง หรือบางส่วนติดกันหรือแตกร้าว
ข้อเคลื่อน มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า
ลักษณะต่างจากผู้ใหญ่
เยื่อหุ้มกระดูก (periosteum) แข็งแรงและสร้างกระดูกได้ดี
เมื่อหักจึงติดเร็ว
เยื่อบุโพรงกระดูก(endosteum) สร้างกระดูกได้มากและเร็ว
อายุยิ่งน้อยยิ่งติดเร็ว
แผ่นเติบโต (growth Plate) อ่อนแอกว่าเอ็น (tendon),เอ็นหุ้มข้อ (ligament)และเยื่อหุ้มข้อ (joint capsule) จะหักบริเวณนี้มากกว่า
ปัญหาวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกาย
อาจไม่แน่ชัด หรือเชื่อถือได้ยาก
การบวมของแขน ขา เกิดขึ้นเร็วและหายเร็ว
การเปลี่ยนแปลงระบบไหลเวียน (ischemic changes)ใส่เฝือกหรือพันผ้าแน่น ระวังและแก้ไขทันทีอาจเกิด
ภาวะ Volkman’s ischemic contracture
การเจริญเติบโต เริ่มกระดูกอ่อนปฐมภูมิ (primary ossification center)ต่อมาส่วนปลายเป็นทุติยภูมิ(ossification center secondary) ท้าให้กระดูกงอกตามยาว
สาเหตุ
ได้รับอุบัติเหตุน้ามาก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
เช่น ถูกตี รถชน
ตกจากที่สูง หรือจากการกระตุ้นทางอ้อม เช่น หกล้ม เอามือยันพื้น กระดูกฝ่ามือไม่แตกกลับไปแตกบริเวณเหนือข้อมือ
กล้ามเนื้อที่เกาะกระดูกถูกฉุดกระฉากแรงเกินไป
มีพยาธิสภาพของโรคที่ท้าให้กระดูกบางหักแตกหักง่าย
เช่น มะเร็งของกระดูก กระดูกอักเสบ
อาการและอาการแสดง
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
ปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การติดของกระดูก
มีคอลลาเจนไฟเบอร์ (collagen fiber) แคลเซี่ยมเซลล์สร้างกระดูก ( osteoclast ) เรียกที่สร้างว่า (callus) เสมือนกาวธรรมชาติ ( biological glue )
เชื่อมด้านนอกเรียกว่า external callus ด้านในเรียกว่า endocallus
พวกกระดูกนุ่ม cancellous bone จะมี endocallus มากกว่าพวกกระดูกด้ามยาว (long bone)
เนื้อเยื่อที่ถูกท้าลายจะรวมตัวของก้อนเลือดเป็นฐานเนื้อเยื่อใหม่ (granulation tissue) 8 ชั่วโมง จะอักเสบเฉียบพลัน พร้อมสร้างเยื่อหุ้มกระดูก(periosteum) และในโพรงกระดูก (medullary canal)
สร้างขึ้นใหม่ประมาณ 48 ชม.และเชื่อมประมาณ 6-7 วัน เฉลี่ยประมาณ 6-16 สัปดาห์
ขึ้นอยู่กับสาเหตุ อายุ ต้าแหน่งและความรุนแรงของอันตรายที่ได้รับ
รักษาโดยไม่ผ่าตัด ยกเว้น
หักผ่านข้อ (displaceed intra articular fracture) - ก
ตามการแบ่งของ Salter ชนิด Ш , ІV
แผลเปิด (open fracture)
การหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ(avulsion fracture)
คอฟีเมอร์หักและเคลื่อน(displaced fracture neck of femur)
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ อุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
ตรวจร่างกาย ทั่วไป และให้สนใจส่วนที่ได้รับภยันตรายให้มาก
ด้วยความนุ่มนวล
การตรวทางรังสี มีความจ้าเป็นในการถ่ายภาพให้ถูกต้อง
การรักษา
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
ลดความเจ็บปวด โดยให้ยาลดปวด จัดให้กระดูกที่หักอยู่นิ่งๆ โดยใช้เฝือกดาม ไม้ดาม หรือผ้าพันยืด และพยายามจัดกระดูกให้เข้าที่
จัดให้เข้าที่และดามให้มีแนวกระดูก (alignment) ที่ยอมรับได้จนกระดูกที่หักติดดี
ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
ให้อวัยวะนั้นกลับทางานได้เร็วที่สุด
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
เกิดขึ้นกับเด็กมากที่สุด โดยเฉพาะอายุต่ากว่า 10 ปี ในทารกอาจเกิดจากการคลอดติดไหล่
อาการและอาการแสดง
Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
อายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับลาตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าสาลี คล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลาตัว พันนาน 10-14 วัน
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิด รายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ท้าคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
เด็กโต การล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง บวม ช้้าเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด ให้ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้ 2 - 3 สัปดาห์
รายที่กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมากๆ ควรตรึงแขนด้วย traction ตรึงไว้ 3 สัปดาห์ อาจท้า skin traction หรือ skeletal traction
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
พลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย จากการเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอ ปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมาก
วัยก่อนเรียนและวัยเรียน โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น “ Volkman’s ischemic contracture ” อาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของกระดูก Humerus
หักแบบ greenstick ใส่เฝือกแบบ posterior plaster splint 1 สัปดาห์เมื่อยุบบวม เปลี่ยนเฝือกพันต่ออีก 2-3 สัปดาห์
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
ออกมาจากข้อ radio- humeral ไม่หมด ในอายุต่ากว่า 6 ปี จากการหยอกล้อ แล้วดึงแขนหรือหิ้วแขนขึ้นมาตรงๆ ในขณะที่ข้อศอกเหยียดและแขนท่อนปลายคว่ามือ
กระดูกปลายแขนหัก
ตั้งแต่เริ่มหัดเดินถึงวัยรุ่น จากการกระทาทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง ตำแหน่งที่พบบ่อย คือ ปลำยล่ำงๆ หรือ ส่วนล่ำง 1/3 ของลำกระดูก
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
ทุกวัย โดยเฉพาะอายุ 2 - 3 ปี พบชายมากกว่า เพราะซุกซนกว่า ต้าแหน่ง คือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา ปวดข้างที่หัก บวม อายุต่้ากว่า 3 ปี ให้ใส่เฝือกขา 3-4 สัปดาห์
เคลื่อนออกจากกันมากๆ ให้ Gallow’s หรือ Bryant’s traction ถ้าอายุมากกว่า 3 ปี ทา Russel’s traction
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
รวมตัวของรากประสาทไขสันหลังส่วน ventral rami ระดับ C5-T1
สาเหตุ ข่ายประสาทถูกดึงยึด ได้แก่ การคลอดท่าก้น ภาวะคลอดติดไหล่ เด็กมีน้้าหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน
การวินิจฉัย สังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา มีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จ้าเป็นต้องผ่าตัด
การพยาบาล
เข้าเฝือกปูน
การดึงกระดูก (Traction)
ป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
ผ่าตัดทา open reduction internal fixation (ORIF)
ก่อนการผ่าตัด
ด้าร่างกาย
วัดสัญญาณชีพเช้า เย็น ประเมินอาการของระบบประสาท บรรเทาอาการรบกวน
ให้สารน้าทางหลอดเลือดดา / ยา /เอกสารใบเซ็นยินยอม /
ผล Lab / ผล X-ray
เตรียมผิวหนังเฉพาะที่ ดูแลความสะอาดของร่างกาย อาบน้า แปรงฟัน ในเด็กเล็กใส่ผ้าอ้อมสาเร็จรูป การสารวจว่ามีฟันโยกในเด็ก
ด้านจิตใจ
สภาพแวดล้อมภายในห้องผ่าตัด
ขั้นตอนในการผ่าตัดโดยสังเขป
การปฏิบัติตัวภายหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
ไออย่างมีประสิทธิภาพ
กลับจากห้องผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย ผลข้างเคียงยาชนิด GA
จัดท่านอนให้นอนราบไม่หนุนหมอน สังเกตอาการคลื่นไส้อาเจียน
ประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด
ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจ้ากัดเคลื่อนไหว
การเกิดแผลกดทับ เปลี่ยนท่าที่เหมาะสมทุก 2 ชั่วโมง
ลดอาการท้องผูก กระตุ้นให้เด็กมีการเคลื่อนไหว จัดอาหารที่มีกากมาก ดื่มน้าให้เพียงพอ
ลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ กระตุ้นให้ออกกาลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที่ กระตุ้นให้หายใจเข้าออกลึกๆแรงๆหลายๆครั้ง
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง