Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กกที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ, นางสาวกรวดี ยิ่ยศกำจรชัย…
การพยาบาลเด็กกที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักและข้อเคลื่อนในเด็ก
กระดูกหัก
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกัน อาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิงหรือมีเพียงบางส่วนติดกันหรือเป็นเพียงแตกร้าว
ข้อเคลื่อน
ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า ซึ่งการบาดเจ็บของข้อและกระดูกยังส่งผลให้เนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้้าเหลือง เส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตรายด้วย
สาเหตุ
อาจเกิดจากกล้ามเนื้อที่เกาะกระดูกถูกฉุดกระฉากแรงเกินไป
จากการกระตุ้นทางอ้อม เช่น หกล้ม เอามือยันพื้น กระดูกฝ่ามือไม่แตกกลับไปแตกบริเวณเหนือข้อมือ
มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุน้ามาก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรงเช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่สูง
เกิดจากมีพยาธิสภาพของโรคที่ท้าให้กระดูกบางหัก
แตกหักง่าย เช่น มะเร็งของกระดูก กระดูกอักเสบ
อาการและอาการแสดง
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
3.รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การติดของกระดูกเด็ก
callus เปรียบเสมือนเป็นกาวธรรมชาติ ( biological glue ) ถ้าเชื่อมระหว่างคอร์เทกซ์ด้านนอกเรียกว่า external callus ถ้าเชื่อมด้านในเรียกว่า endocallus
สิ่งที่สร้างขึ้นมา ประสานรอยร้าวหรือรอยแตกของกระดูกมีองค์ประกอบสำคัญ คือ คอลลาเจนไฟเบอร์(collagen fiber) แคลเซี่ยมเซลล์สร้างกระดูก ( osteoclast ) รวมเรียกสิ่งที่สร้างขึ้นว่า ( callus )
กระดูกที่สร้างขึ้นใหม่ จะเกิดขึ้นภายหลังกระดูกหักประมาณ 48 ชั่วโมงและจะใช้เวลาในการเชื่อมกระดูกหักประมาณ6-7 วัน โดยเฉลี่ยการติดของกระดูก นานประมาณ 6-16 สัปดาห์ขึ้นอยู่กับสาเหตุ อายุ ต้าแหน่งและความรุนแรงของอันตรายที่ได้รับ
กระดูกและข้อเคลื่อนในเด็กส่วนใหญ่รักษารักษาโดยไม่ผ่าตัด ยกเว้น
กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน(displaced fracture neck of femur)
กระดูกหักในเด็กตามการแบ่งของ Salter ชนิด Ш , ІV
กระดูกมีแผลเปิด (open fracture)
กระดูกหักผ่านข้อ (displaceed intra articular fracture)
กระดูกหักจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ(avulsion fracture)
ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดอยู่ในข้อ
ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าที่ได้โดยไม่ผ่าตัด ซึ่งมักเป็นเวลานานกว่า 2 สัปดาห์ หรือมีเนื้อเยื่อขวางกั้น
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ ซักเกี่ยวกับเรื่องการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
การตรวจร่างกาย ตรวจเหมือนเด็กทั่วไป และให้ความสนใจต่อส่วนที่ได้รับภยันตรายให้มาก
2.1 ลักษณะของกระดูกหัก สังเกตลักษณะภายนอกว่าเป็นกระดูกหักชนิดที่มีบาดแผลหรือไม่มีบาดแผลมี
กระดูกโผล่มาหรือไม่
2.2 ลักษณะของข้อเคลื่อน มี 2 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ข้อเคลื่อนออกจากกันโดยตลอด และข้อที่
เคลื่อนออกจากกันเพียงเล็กน้อย โดยที่ยังมีบางส่วนสัมผัสกันอยู่
การรักษา
จุดประสงค์ที่ส้าคัญที่สุดในการรักษาในเด็กภาวะฉุกเฉิน
ช่วยชีวิตเด็กไว้ก่อนแก้ไขเรื่องทางเดินหายใจ
การเสียเลือด ภาวะการณ์ไหลเวียนล้มเหลว และภยันตรายอื่นๆ ที่อาจท้าอันตรายต่อชีวิตได้
หลักการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
3.1ในระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวด
3.2 จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก ( alignment
3.3 ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
3.4 ให้อวัยวะนั้นกลับท้างานได้เร็วที่สุด
กระดูกหักที่พบบ่อย
1.กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle ) พบมากในเด็กอายุต่ำกว่า 10 ขวบ
อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็ก
มัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับล้าตัว
พันนาน 10-14 วัน ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี
อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับล้าตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าส้าลี คล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิดมักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ท้าคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
ส่วนในเด็กโต อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง
การรักษา
อาจให้ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้นานประมาณ 2 - 3 สัปดาห์ ในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมากๆควรตรึงแขนด้วยtraction ตรึงไว้นานประมาณ 3 สัปดาห์ อาจท้า skin traction หรือ skeletal traction ก็ได้
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture ) พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย
สาเหตุ
เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียด
ตรง หรือข้อศอกงอ
อาการ
เด็กจะปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมากพบบ่อยในเด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน
โรคแทรกซ้อน
Volkman’s ischemic contracture
กระดูกหักบริเวณนี้อาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับการ
เจริญเติบโตของกระดูก Humerus
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส (Transient subluxation of radial head , pulled elbow )พบได้บ่อยในเด็กอายุต่้ากว่า 6
ปี
สาเหตุ
เป็นการเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด
กระดูกปลายแขนหัก พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น
สาเหตุ
หกล้มเอามือเท้าพื้น ตก
จากที่สูง
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur ) พบได้ทุกวัย โดยเฉพาะอายุ 2 - 3 ปี ส่วนมากจะเกิดกับเด็กชายมากกว่า
การรักษา
ให้ใส่เฝือกขาแบบยาวนาน 3-4 สัปดาห์
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy) : แขนอ่อนแรง
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด ได้แก่ การคลอดท่าก้น ภาวะคลอดติดไหล่ เด็กมีน้ำหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน
การวินิจฉัย
จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
ในผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จ้าเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาลเด็กที่ได้รับบาดเจ็บของกระดูกและข้อ
ระบบ ABCDEF
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ
โดยการสังเกต คล้า ดูความสัมพันธ์ของอวัยวะการเคลื่อนไหว
ของข้อต่าง ๆ การยกขึ้น งอหรือเหยียด ตรวจสอบความตึงตัว อาการเกร็งของกล้ามเนื้อ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
3.1 เข้าเฝือกปูน
3.2 ดึงกระดูก( traction)
3.3 ผ่าตัดท้า open reduction internal fixation ( ORIF )
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
1.ด้านร่างกาย
การเตรียมผิวหนังเฉพาะที่
การดูแลความสะอาดของร่างกาย อาบน้้า แปรงฟัน ในเด็กเล็กอาจใส่ผ้าอ้อมส้าเร็จรูป การสำรวจว่ามีฟันโยกในเด็ก
3.การตรวจวัดสัญญาณชีพ / ผู้ป่วยจะได้รับการตรวจชีพจร เช้า เย็น
การประเมินอาการของระบบประสาท และหลอดเลือด
5.การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า/ยา/เอกสารใบเซ็นยินยอม/ผล Lab/ผล X-ray
ด้านจิตใจ
สภาพแวดล้อมภายในห้องผ่าตัด
ขั้นตอนในการผ่าตัดโดยสังเขป
การปฏิบัติตัวภายหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
1.ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย ผลข้างเคียงของการวางยาชนิด GA / การจัดท่านอนให้นอนราบไม่หนุนหมอน สังเกตอาการคลื่นไส้อาเจียน
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale ถ้าปวดอาจพิจารณาให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด และในรายที่มีท่อระบาย ถ้าเลือดออกมากกว่า 3 มล./กก/ ชม. หรือ 200cc/ชั่วโมง แสดงว่ามีภาวะตกเลือดหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดเคลื่อนไหว
ป้องกัน/ลดอาการข้อติดแข็ง กล้ามเนื้อลีบกระตุ้นให้เด็กมีการออกก้าลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ ด้วยการเปลี่ยนท่าที่เหมาะสมให้เด็กอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการ เคลื่อนไหว จัดอาหารที่มีกากมาก ดื่มน้้าให้เพียงพอ
ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที่ด้วยการกระตุ้นให้เด็กหายใจเข้าออกลึกๆแรงๆหลายๆครั้ง
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ท้าความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือกที่ด้วยการชะล้างสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในบาดแผลออกให้หมด
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้นจาก ลักษณะแผล สิ่งคัดหลั่ง อาการบวมแดง
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
การพยาบาลเพื่อลดความ เครียดวิตกกังวลเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจของเด็กและญาติ
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กและญาติที่มีต่อการรักษาพยาบาลและตัวบุคลากร
จัดกิจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด็กและญาติให้มีการระบายออก
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ แต่ต้องประเมินอาการปวดด้วย
การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
1.ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
2.จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
กรณีเด็กได้รับการผ่าตัด อาจมีการรัดโดยส้าลีพันเฝือกบริเวณข้อศอก ข้อเข่า ควรคลาย ส้าลีพันเฝือกให้ถึงผิวหนังเด็ก
ผู้ป่วยที่ได้รับการยึดด้วย Kirschner wire ผ่านผิวหนังออกมาข้างนอกเพื่อสะดวกในการถอด ต้องหมั่นท้าแผลจนกว่าจะถึงเวลาที่ถอด
การพยาบาลเพื่อให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
การดูแลแผลผ่าตัด ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้้าหรือสกปรก
ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
ควรสังเกตอาการผิดปกติที่จ้าเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที ได้แก่ เฝือกมีกลิ่นเหม็น,ปลายมือปลายเท้าชา
เขียวคล้้า,มีไข้สูง
ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดี
รักษาสุขภาพ อนามัยให้แข็งแรงอยู่เสมอ และหมั่นออกก้าลังกายกล้ามเนื้อและข้อ โดยเฉพาะการก้าแบ
มือบ่อยๆ
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน Volkmann’ s ischemic contracture
ลักษณะ Volkmann’ s ischemic contracture ทำให้แขน มือ และนิ้วหงิกงอ
แขนอยู่ในท่าคว่้ามือ (pronation)
ข้อศอกอาจจะงอ
ข้อมือพับลง (palmar flemion)
ข้อ metacarpophalangeal กระดกขึ้น หรือมี extension
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
อาจมีอัมพาต ถ้า median nerve หรือ ulnar nerve ถูกท้าลาย
กล้ามเนื้อแขนลีบแข็ง
ข้อเกือบทุกข้อจะแข็ง บางรายอาจจะกระดิกได้
กล้ามเนื้อมือลีบ เหมือนกับมีอัมพาต
สาเหตุ
ปลายกระดูกหักชิ้นบน เช่นในรายที่มีการเคลื่อนของกระดูกมาก
เลือดแข็งจับกันเป็นก้อน
งอพับข้อศอกมากเกินไป ในขณะที่บริเวณนั้นยังบวมอยู่
จากการเข้าเฝือก เฝือกที่เข้าไว้ในระหว่างที่การบวมยังด้าเนินอยู่เมื่อเกิดอาการบวมขึ้นขึ้นเต็มที่ แต่เฝือกขยายออกไม่ได้ เฝือกจึงคับท้าให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวก
3 ระยะ
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ บวม ตึง แข็ง และมีสีคล้้า
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน มือ และนิ้วทำให้มือและนิ้วหงิกงอ ใช้การไม่ได้
ระยะเริ่มเป็น
ก. มีบวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว
ข. เจ็บ และปวด
ค. นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้การบวมท้าให้นิ้วแข็ง
ง. สีของนิ้วจะขาวซีด หรืออาจจะเป็นสีคล้้า แต่นิ้วยังคงอุ่นอยู่
จ. มีอาการชา
ฉ. ชีพจร คล้าไม่ได้ชัด หรือไม่ได้
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุดขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่ ๆ
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือกจะงอได้มากแค่ไหนควรใช้การจับชีพจรเป็นหลัก ต้องงอพอที่จะจับชีพจรได้เสมอ
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าพันธรรมดา การใช้ slab จะท้าให้เฝือกขยายตัวได้บ้าง ยังไม่ควรใส่ circular cast
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
มักคล้าพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อย ๆ ยุบลงไป การปล่อยให้มีภาวะคอเอียงอยู่นานจะส่งผลให้กะโหลกศีรษะ ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศีรษะบิดเบี้ยวไม่สมดุล
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ลักษณะของผู้ป่วย ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth)
การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis) ปรับต้าแหน่งศีรษะ
การผ่าตัด ถ้ายืดกล้ามเนื้อที่หดสั้นไม่ได้ผลภายหลังอายุ 1 ปี ควรรับการรักษาโดยการผ่าตัด
นางสาวกรวดี ยิ่ยศกำจรชัย 613601001 เลขที่ 1 ห้อง 2A