Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล, นางสาวศุภรัตน์ ตะโกเนียม…
การพยาบาลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ระยะของการเจ็บป่วย
ระยะเฉียบพลัน (Acute)
อาการหัวใจวาย
เฉียบพลัน
ระยะเรื้อรัง (Chronic)
เป็นระยะที่รักษาไม่หายขาด
ระยะวิกฤต (Crisis)
เป็นระยะที่มีโอกาสเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็วการ
ป้องกัน
ภาวะแทรกซ้อน
ระยะสุดท้าย / ใกล้ตาย
กานวินิจฉัยถึงขั้นเสียชีวิต
อยู่ได้ประมาณ 6 เดือน
หรือน้อยกว่า
ปฏิกิริยาของเด็กป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ความวิตกกังวลเนื่องจากการแยกจาก
พบมากในเด็กอายุ
ระหว่าง 6 เดือนถึง 3 ปี
ระยะประท้วง
เด็กพยายามที่จะให้มารดาอยู่ด้วย
เด็กจะปฏิเสธทุกอย่าง
จะร้องค่อยลงเมื่อร้องจนเหนื่อยแล้ว
ระยะสิ้นหวัง
แยกตัวอยู่เงียบ ๆ ร้องไห้น้อยลง
ต่อต้านเพียงเล็กน้อยยอมกินอาหาร
เมื่อมารดาไม่อยู่เด็กจะมีพฤติกรรมดีกว่า
ระยะปฏิเสธ
ระยะนี้เด็กจะหันกลับมาสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัว
เด็กเพียงเก็บกดความรู้สึกที่มีต่อมารดาไว้
เด็กแสดงท่าทางราวกับว่าไม่เดือดร้อนไม่ว่ามารดาจะมาหรือจะไป
พฤติกรรมถดถอย
หันกลับมาใช้พฤติกรรมดั้งเดิม
ถ่ายปัสสาวะรดกางเกง
หันกลับไปกินนมจากขวด
การสูญเสียการควบคุมตัวเอง
เด็กวัยก่อนเรียน
การได้รับให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา
ทําให้เด็กขาดความมั่นคง
ในตัวเอง
การให้เด็กนอนหงายนิ่ง
เด็กวัยเรียน
สามารถช่วยเหลือตัวเองได้โดยอิสระ
รับรู้ความจริงมากขึ้น
ความกลัวของเด็กป่วยวัยนี้
วัยรุ่น
เสาะแสวงหาเอกลักษณ์ของตน
อาจจะมีปฏิกิริยาโต้ตอบโดยการปฏิเสธ
การบาดเจ็บและความเจ็บปวด
เด็กวัยก่อนเรียน
ร้องเสียงดังลั่น
ต้องบอกเด็ก
ว่าอะไรจะเกิดขึ้น
ความกลัวอวัยวะถูกตัดขาด
เด็กวัยเรียน
กลัวการบาดเจ็บ
กลัวความตาย
เด็กสามารถมองเห็นความสัมพันธ์ของเหตุผล
วัยรุ่น
ปรับตัวโดยการเข้าหาผู้อื่น
ปรับตัวโดยการต่อสู้และต่อต้าน
ปรับตัวโดยการถอยหนีจากคนอื่น
ปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยของเด็ก
การปฏิเสธ และไม่เชื่อ
ความรู้สึกโกรธและโทษตัวเอง
ความรู้สึกกลัว และวิตกกังวล
ความรู้สึกหงุดหงิด คับข้องใจ
ความรู้สึกเศร้า
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
การตระหนักและการเคารพ
การร่วมมือ (Collaboration)
ครอบครัวและบุคลากรวิชาชีพมีความเท่าเทียมกัน
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
ใช้การปฏิสัมพันธ์ในการสร้างความมั่นใจและเพิ่ม
การสนับสนุน (Support)
ให้ช่วยเหลือเพื่อตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกายและ
ตระหนักถึงอิทธิพลของการที่เด็กเข้ารับการรักษาอยู่ใน
ปรับบทบาทจากผู้กระทําโดยตรงมาเป็นผู้สนับสนุนให้ผู้ป่วย
หลักการดูแลเด็กโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก
สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างบิดามารดากับทีมสุขภาพในทุกระดับของการ
มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จําเป็นและสมบูรณ์แก่บิดามารดาอย่างต่อเนื่อง
เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการ ของ บุคคลและครอบครัว
ลงมือปฏิบัติสนับสนุนและช่วยเหลือครอบครัวที่มีปัญหาทางด้านอารมณ์
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็ง
เคารพยอมรับในความหลากหลายของเชื้อชาติวัฒนธรรม
กระตุ้นและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครอง
จัดบริการให้มีความความยืดหยุ่น
บทบาทของพยาบาลเด็กในการใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
เสริมสร้างความสามารถของครอบครัว
เสริมสร้างพลังอํานาจแก่ครอบครัวในการควบคุมชีวิตของครอบครัวและการ
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะ และทรัพยากรกับครอบครัว
พยาบาลสร้างกลไกความสัมพันธ์กับบิดามารดาเป็นแบบหุ้นส่วน
การจัดการการพยาบาลเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การประเมินและการวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนและการดําเนินการ
การจัดสิ่งแวดล้อม
การอํานวยความสะดวก
การประสานงาน
การสื่อสาร
การให้การพยาบาลตามระยะพัฒนาการของเด็ก
การประเมินผล การให้การพยาบาลแก่เด็กเป็นระยะ
สร้างความสัมพันธ์ที่ดีและความไว้วางใจกับผู้ปกครองและเด็ก
พูดคุยโดยให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก
ใช้การอธิบายในรูปแบบอื่นๆ
เปิดโอกาสให้เด็กได้ซักถามหรือเล่าถึงความรู้สึกของตนเอง
ช่วยให้เด็กเข้าใจว่า ไม่ว่าจะเป็นอย่างไร เด็กจะยังคงเป็นที่รัก
นางสาวศุภรัตน์ ตะโกเนียม เลขที่ 49 รุ่น 36/2 612001130