Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นาง หน้อย อายุ 18 ปี G P 1-0-0-1 LMP 25 สิงหาคม 2562 EDC 1 มิถุนายน…
นาง หน้อย อายุ 18 ปี
G P 1-0-0-1
LMP 25 สิงหาคม 2562
EDC 1 มิถุนายน 2563
GA 38+2 wks
Power
Primary Power
Latent phase
Duration : 40"- 45"
Interval : 4'
Intensity :Moderate-Strong
ใช้เวลาไป 5 ชั่วโมง ซึ่งสัมพันธ์กับที่กล่าวไว้ในทฤษฎีของ Friedman's phase
Active phase
Duration : 45"- 60"
Interval : 1'50"-2'30"
Intensity : Strong
ใช้เวลาไป 2 ชั่วโมง 50 นาที
ใช้เวลานานกว่าที่กล่าวไว้ในทฤษฎีFriedman's phase
แต่ไม่ส่งผลให้เกิดการคลอดล่าช้า
จากการประเมิน Uterine Contraction พบว่าผู้คลอดมี uterine contraction สัมพันธ์กับระยะเวลาทั้งในระยะLatent phase และActive phase
ผู้คลอดได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก Synto 10u vein drip rate 10 cc/hr
Secondary Power
เวลา 12:00 น.ผู้คลอดรู้สึกอยากเบ่ง
PV 9 cm 100%, st ,+1 MR ย้ายเข้า LR
เวลา 12:20 น. Fully dilate
แนะนำการเบ่งเพื่อคลอดผู้คลอดทำได้ดี
และทำในเวลาที่เหมาะสม
Passage
ช่องเชิงกราน (Bony passage)
ผู้คลอดอายุ 18 ปี การเจริญเติบโต
ของกระดูกเชิงกรานยังไม่เต็มที่
มักเสี่ยงต่อการเกิดภาวะส่วนนำ
และเชิงกรานไม่ได้สัดส่วน
Pelvic inlet : ศีระทารกสามารถเคลื่อนเข้าสู่
ช่องเชิงกรานได้
Pelvic cavity : ทารกสามารถเคลื่อนต่ำลงมาได้โดย station0>>+1 ตามลำดับ
Pelvic outlet :ทารกสามารถคลอดผ่านออกมาจากช่องทางคลอดได้ครบทั้งตัว
ท่าเดินของผู้คลอดมีลักษณะปกติและปฏิเสธการผ่าตัดหรือการได้รับอุบัติเหตุบริเวณช่องเชิงกราน
ช่องทางคลอดที่มีลักษณะอ่อนนุ่มหรือ
ยืดขยายได้ (Soft passage)
จากการตรวจภายในพบว่า
08:00 น PV 3 cm, 50%, st 0, MI
09:00 น PV 3 cm, 75%, st 0, MR
11:00 น PV 5 cm, 75%, st ,0 MR
12:00 น PV 9 cm, 100%, st ,+1 MR
12:20 น PV 10 cm, 100%, MR
จากการตรวจภายใน พบว่ามีการเปิดขยายของปากมดลูกตามระยะเวลาของการคลอดตาม Friedman's phase ซึ่งในระยะ Latent phaseใช้เวลาไปประมาณ 5 ชั่วโมงและในระยะ Active phase ใช้เวลาไปประมาณ 2 ชั่วโมง 50 นาที ส่งผลให้การคลอดไม่เกิดความล่าช้า
Passenger
ทารก
จากการตรวจครรภ์ความสูงของระดับ
ยอดมดลูกไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์
โดยระดับความสูงของยอดมดลูก
มีขนาดใหญกว่าอายุครรภ์ที่ควรจะเป็น
ทารกอยู่ในท่า LOA มีส่วนนำเป็นศีรษะซึ่งท่า
และส่วนนำของทารกไม่ทำให้เกิดการคลอดยาก
รก
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะรกเกาะต่ำ ได้แก่ Bleeding per vagina
ไม่มีผล US จึงไม่ทราบตำแหน่งของรก
น้ำคร่ำ
หลังจากการเจาะถุงน้ำคร่ำเวลา09.00น ก่อนคลอดเป็นเวลา 3 ชั่วโมง 20 นาทีพบว่า น้ำคร่ำสีใส Clear
Psychological condition
ขณะตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์ดูแลตนเองเป็นอย่างดี
ทั้งเรื่องการรับบประทานอาหาร
และการดูแลตนเองในด้านต่างๆ
ขณะรอคลอด
: หญิงตั้งครรภ์มีความรู้สึกภาคภูมิใจ
ในตนเองและภูมิใจที่จะได้บุตรคนที่สอง
พยายามดูแลตนเองเป็นอย่างดี แต่ผู้คลอดจะมี
ความกังวลเกี่ยวกับการคลอด มีความคาดหวังใน
ลักษณะและเพศของบุตรคืออยากได้เพศชาย
เนื่องจากสามีอยากได้ลูกผู้ชาย
Psysical condition
อายุ
: ผู้คลอดอายุ 18 ปี การเจริญเติบโต
ของกระดูกเชิงกรานยังไม่เต็มที่
มักเสี่ยงต่อการเกิดภาวะส่วนนำ
และเชิงกรานไม่ได้สัดส่วน
น้ำหนัก
:ผู้คลอดมีน้ำหนักก่อน
การตั้งครรภ์ 50 กิโลกรัม
BMI
= 20.28 kg/m2 (ปกติ)
น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์
18.8 กิโลกรัม(เพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ)
ส่วนสูง
: ผู้คลอดส่วนสูง 157 cms ซึ่งไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะไม่สัมพันธ์กันระหว่างศีรษะ
ทารกกับอุ้งเชิงกรานของผู้คลอด
ยา :
ผู้คลอดได้รับยาSynto10 u vein
drip 10 cc/hr เมื่อเวลา 09:30 น
หลังจากได้รับยาส่งผลให้เกิด good UC
ภาวะเจ็บป่วย :
ผู้คลอดปฏิเสธโรคประจำตัวและการเจ็บป่วย
Position
ผู้คลอดนอนอยู่บนเตียง
ในท่าทางที่สุขสบาย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
:red_flag:เสี่ยงต่อการคลอดติดขัด เนื่องจากทารกตัวโต และกระดูกเชิงกรานยังเจริญไม่เต็มที่
:red_flag:วิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอด
เนื่องจากกลัวการคลอด
:red_flag:ไม่สุขสบายจากการเจ็บครรภ์ เนื่องจากมดลูกมีการหดรัดตัว
:red_flag:เฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ได้แก่ Tetanic contraction, water intoxication, Fetal distress