Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สายสะดือย้อย (Prolapsed of the umbilical cord) - Coggle Diagram
สายสะดือย้อย
(Prolapsed of the umbilical cord)
คือ ภาวะที่สายสะดือลงมาอยู่ข้างๆ หรือ
ต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์ หรือสายสะดือโผล่ออกมาภายนอกช่องคลอด
ชนิดของสายสะดือย้อย
สายสะดือย้อยลงมาอยู่ต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์ และถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก (Forelyingcord/Funic presentation / Cord presentation)
สายสะดือย้อยลงมาอยู่ต่ ากว่าส่วนน าของทารกในครรภ์และถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว (Overt prolapsed cord / Prolapsed of cord
presentation)
สายสะดือย้อยลงมาต่ำกว่าปกติ ถุงน้ำคร่ำอาจจะแตกหรือไม่แตกก็ได้(Occult prolapsed cord)
สาเหตุ
ทารกท่าผิดปกติ
การตั้งครรภ์แฝด / ครรภ์แฝดน้ำ
ภาวะที่มีการผิดสัดส่วนของส่วนนำทารกกับช่องทางคลอด
ทารกไม่ครบกำหนด
การเจาะถุงน้ำหรือถุงน้ำแตกก่อนที่ส่วนนำจะลงสู่ช่องเชิงกราน
สายสะดือยาวกว่าปกติ
การตั้งครรภ์หลัง
รกเกาะต่ำหรือสายสะดือเกาะบริเวณริมขอบรก
อาการและอาการแสดง
เห็นสายสะดือโผล่พ้นช่องคลอดออกมา
เสียงหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติ โดยหาสาเหตุอื่นไม่พบ
คลำพบสายสะดือจากการตรวจภายใน อาจจะจับได้ชีพจรบนสายสะดือเต้นเป็นจังหวะ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasound) อาจจะช่วยในการวินิจฉัยสายสะดือย้อยชนิดForelying cord หรือ
occult prolapsed cord ได้
ผลกระทบต่อทารก
ทารกจะเสียชีวิตจากการขาดออกซิเจน
เนื่องจากสายสะดือถูกส่วนนำกดทับกับช่องทางคลอด
ผลกระทบต่อมารดา
มีผลกระทบทางด้านจิตใจของมารดาถ้าทารกในครรภ์เสียชีวิต
การรักษา
การช่วยเหลือแบบฉุกเฉิน
1.จัดให้ผู้คลอดที่ได้รับการวินิจฉัยว่าสายสะดือย้อยน
นอนตะแคงยกก้นสูง (Elevate Sim’s position)
นอนในท่าโก้งโค้ง
(Knee-chest position)
ท่านอนหงายยกก้นสูง(Trendelenburg position)
2.สอดมือเข้าไปในช่องคลอด แล้วดันส่วนน าไว้ไม่ให้ส่วนน าเคลื่อนลงมากดสายสะดือ
3.ให้ออกซิเจนแก่มารดา
5.หากสายสะดือย้อยออกมานอกช่องคลอด ให้ใช้ก๊อซชุบน้ าเกลือ NSS คลุมปิดสายสะดือไว้
4.ควรพยายามให้อยู่ในช่องคลอด เพราะอุ่น
และไม่แห้ง ลดการหดเกร็งของหลอดเลือด (vasospasm)
6.หากสายสะดือย้อยออกมานอกช่องคลอด ให้ใช้ก๊อซชุบน้eเกลือ NSS คลุมปิดสายสะดือไว้
การช่วยเหลือการคลอด
3.กรณีที่ทารกในครรภ์เสียชีวิต ให้ด าเนินการคลอดทางช่องคลอด
4.Breech extraction ในกรณีที่เป็นท่าก้น ปากมดลูกเปิดหมด
ไม่มีภาวะผิดสัดส่วนของทารกกับช่องเชิงกราน
2.ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
5.ใช้เครื่องดึงสุญญากาศในรายที่เป็นครรภ์หลัง ปากมดลูกเปิดเกือบเต็มที่แล้ว และท่าศีรษะที่ไม่มี
การผิดสัดส่วนของทารกกับช่องเชิงกรานมารดา
1.ถ้าทารกในครรภ์มีชีวิตอยู่ ปากมดลูกเปิดหมด ศีรษะทารกลงมาต่ำ
ให้ช่วยคลอดด้วยคีม
6.ครรภ์หลังที่ปากมดลูกเปิดตั้งแต่ 7-8 เซนติเมตรขึ้นไปที่เป็นชนิด Forelying cordท่าของทารกปกติมีความก้าวหน้าของการคลอดเร็ว ทารกไม่มีภาวะขาดออกซิเจน (fetal distress)ไม่ให้ถุงน้ำแตก อาจจะรอเพื่อให้คลอดเองทางช่องคลอดได้
การพยาบาล
ดูแลให้นอนพักบนเตียงเมื่อถุงน้ำคร่ำแตก
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
1.ประเมินสภาพมารดาและทารกในครรภ์ ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดสายสะดือย้อย
ตรวจภายในด้วยความนุ่มนวล ระมัดระวังไม่ให้ถุงน้ำแตก
เตรียมการคลอดฉุกเฉินหรือเตรียมผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง และรายงานแพทย์
อธิบายให้มารดาเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนการช่วยเหลือ
ดูแลให้มารดาได้รับออกซิเจน
ประเมินสภาพจิตใจมารดาหลังคลอดในกรณีที่สูญเสียบุตร
ถ้าตรวจพบสายสะดือย้อย ใช้นิ้วมือดันส่วนนำไว้ไม่ให้เคลื่อนต่ำลงมา และจัดท่านอนให้ยกก้นสูงเพื่อลดการกดทับสายสะดือ