Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เเนวคิด หลักการพยาบาล เเละการดูเเลเด็กเมื่อเจ็บป่วย, น.ส.อรอารี ศรีดอนไผ่…
เเนวคิด หลักการพยาบาล เเละการดูเเลเด็กเมื่อเจ็บป่วย
ระยะของการเจ็บป่วย
ระยะเฉียบพลัน Acute
ในทันทีทันใดเฉียบพลัน รุนเรงมาก
ระยะเรื้อรัง Chronic
เป็นระยะที่รักษาไม่หายขาดต้องเผชิญกับความเครียดเป็นเวลานานต้องเข้ารับการรักษาบ่อยๆ
ระยะวิกฤต Crisis
เป็นระยะที่มีโอกาสเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว เน้นการรักษา
ประดับประคองทั้งร่างกายจิตใจ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ระยะสุดท้าย/ใกล้ตาย Death/Dying
เป็นระยะที่ได้รับการวินิจฉัยการเจ็บป่วยถึงขั้นเสียชีวิต
ภายใต้การรักษาด้วยยา การดูแลอย่างใกล้ชิด
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็ก
ประเภท 0 :ตอบเบบไม่เข้าใจ
ระดับความคิดความเข้าใจก่อนขั้นปฏิกิริยา (อายุ 18 เดือน-7)
ประเภทที่ 1ตอบตามปรากฏการณ์
ประเภทที่ 2: สาเหตุสัมพันธ์กับวัตถุ หรือบุคคลที่อยู่ใกล้ๆ
ระดับดวามคิดความใจในขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม (อายุ 7-11)
ประเกทที่ 3:การปนเปื้อน
ประเภทที่ 4 ภายในร่างกาย
ระดับปฏิบัติการด้ยนามธรรม (อายุ 11-12 ปี จนถึงวัยผู้ใหญ่)
ประเกทที่ 6:เข้าใจถึงสาเหตุของความเจ็นป่วยที่พัฒนาถึงขั้นสูง
ประเภทที่ 5.ความเจ็บป่วยเกิดอากอายวะภายในร่างกายทำงานไม่ดีหรือไม่ทำงาน
บทบาทของพยาบาลเด็กในการใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
เสริมสร้างความสามารถของครอบครัวโดยให้โอกาสบิดามารดาแสดงความสามารถและสมรรคนะ
เพื่อตอบสนองความต้องการของเด็กและครอบครั้วในการดูแลเด็กป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
เสริมสร้างพลังอำนาจเก่ครอบครัวในการควบคุมชีวิตของครอบครัวและการเปลี่ยนแปลงในทางบวก
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะ และทรัพยากรกับครอบครัวโดยพยาบาลต้องตระหนักว่าบิดามารดามีความเสมอภาค
และมีสิทธิที่จะตัดสินใจว่าอะไรคือความสำคัญของเด็กและครอบครัวพยาบาลสร้างกลไกความสัมพันธ์กับบิดา
มารดาเป็นแบบหุ้นส่วนโดยมีข้อตกลงว่าใครจะเป็นคนให้การพยาบาลเด็กด้านใด
เด็ก
ความหมายจากพจนานกุรม
คนที่มีอายุยังน้อย
ผู้เยาว์ตามประมวลกฎหมายเพ่งเละพาณิชย์
ผู้ซึ่งอายุไม่ครบ 18ปีบริบูรณ์
ยังไม่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส
บุคคลอายุเกิน 7ปี บริบูรณ์ แต่ยังไม่เกิน 14 ปี บริบูรณ์
บุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีลงมา
บุคคลที่มีอายุไม่เกิน 18 ปีบริบูรณ์
วัยยังเล็ก อ่อนวัย
บุคคลตั้งเต่เรกเกิดถึง 15 ปี
ความหมายด้านสุขภาพ
บุคคลตั้งแต่เเรกเกิดจนถึง 15 ปี
แบ่งตามพัฒนาการ
Newborn ทารกแรกเกิด 28 วันหลังคลอต
Infant ทารกอายุมากกว่า 18 วันถึง 1 ปี
Toddler เด็กวัยเดิน อายุ 1-3 ปี
Preschool age เด็กวัยก่อนเรียน 3-5 ปี
School age เด็กวัยเรียน 6-12 ปี
Aldolescent วันรุ่น 13-15 ปิ
สิทธิเด็ก
สิทธิในการมีชีวิต
คลอดออกมาแล้วต้องมีชีวิตอยู่รอดปลอดภัย
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
ได้รับการปกป้องจากการทารุณกรรมทุกรูปแบบ
ไม่ว่าจะทางร่างกายจิดใจ และทางเพศ
สีทริในต้นพัฒนาการ
ได้รับสิทธิให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับพัฒนาการร่างกายจิดใจ สังคม รวมถึงความพึงพอใจและความสุข
สิทธิในการมีส่วนร่วม
ให้ความสำคัญกันการแสดงออกทั้งด้านความคิดและ
การกระทำของเด็กในเป็นส่วนหนึ่งของสังคมที่อยู่อาศัย
การจัดการการพยาบาลเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การประเมินและการวินิจฉัยทางการพยาบาล
ประเมินแบบแผนการดำเนินชีวิตและกิจวัตรประจำวันของเด็ก
ประเมินความคิดความรู้สึกเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลของเด็ก
การวางแผนและการดำเนินการ
การจัดสิ่งแวดล้อม
การอำนวยความสะดวก
การประสานงาน
การสื่อสาร
การให้การพยาบาลตามระยะพัฒนาการของเด็ก
การประเมินผล
เพื่อให้ทราบูความคิดความรู้สึกของเด็กเพื่อให้เด็กได้รับการตอบสนองความต้องการให้ได้มากที่สุด
ซึ่งข้อมูลที่ได้จากเด็กโดยตรงเป็นข้อมูลที่สำคัญอย่างมากต่อการพัฒนาคุณภาพทางการพยาบาล
ปัจจัยต่างๆที่ส่งผลต่อปฏิกิริยาโต๊ตอบของบิดามารดาต่อความเจ็บป่วยของลูก
ความรุนแรงของการรักษา
ประสบการณ์เกี่ยวกับการเจ็บปวยและการอยู่ในโรงพยาบาล
วิธีปฏิบัติเพื่อการวิเคราะห์โรคและการรักษา
ปัจจัยการช่วยเหลือค้ำจุน
ความเข้มแข็งของบิดามารดา
ความสามารถในการปรับตัวครั้งก่อนๆ
ความเคร่งเครียดที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากระบบครอบ
ความเชื่อถือเกี่ยวกับชนบธรรมเนียมประเพณีและศาสนา
แบบแผนการสื่อสารชองสมาชิกในครอบครัว
ปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยของเด็ก
การปฏิเสธ และไม่เชื่อ ในระยะแรกที่ทราบว่บุตรเจ็บป่วย
ความรู้สึกโกรธและโทษตัวเอง เมื่อรู้แน่ชัดว่าเด็กป้วยจริง
ความรู้สึกกลัว และวิตกกังวลความรู้สึกหดหงึด
ความรู้สึกเศร้า คับข้องใจ และการขาดอำนาจต่อรอง
ความเข้าใจเรื่องการตายของ
เด็กในแต่ละช่วงอายุ
วัยแรกเกิดและวัยทารก
ยังไม่เข้าใจเกี่ยวกับความตาย เข้าใจเพียงว่าคนๆนั้นหายไป
วัยอนุบาลหรือวัยก่อนเรียน
เข้าใจว่าความตายเกิดขึ้นชั่วคราว (temporary)
สามารถกลับฟื้นคืนได้ (reversible)
หมือนการนอนหลับหรือไปอยู่ที่อื่นชั่วคราว
วัยเรียน
เช้าใจว่าความตายเป็นสภาวะที่ร่างกายหยุดทำงานอย่างสมบูรณีไม่สามารถกลับฟื้นคืนได้อีก (irreversible)
วัยรุ่น
เป็นภาวะสิ้นสุดของการทำงานของร่างกาย ไม่สามารถกลับฟื้นคืนได้อีก
เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ และทุกคนต้องเผชิญ
ปฏิกิริยาของเด็กป่วยที่เข้ารับ
การรักษาในโรงพยาบาล
ความวิตกกังวลเนื่องจากการแยกจาก
พบมากในเด็กอายุระหว่าง 6 เดือนถึง 3 ปี
แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะประท้วง (protest) เด็กจะร้องไห้อย่างรุนเรงมาก ร้องตลอดเวลาจะหยดุร้องเฉพาะเวลานอนเท่านั้น เด็กพยายามที่จะให้มารดาอยู่ด้วย การร้องไห้ประท้วงรุนแรงมากขึ้นเมื่อมารดาจะจากไป
ระยะสิ้นหวัง(despair) คูวามสิ้นหวังแสดงออกโดย อาการโศกเศร้าเสียใจอย่งลึกซึ้งแยกตัวอยู่เงียบๆ ร้องไห้น้อยลง เสียงครางโยเยห่าทางอ่อนเพลีย อิดโรยอย่างน่าสงสาร รวมทั้มีพฤติกรรมที่ถดถอย(regression)
ถ้าเด็กป่วยต้องอยู่โรงพยาบาลเป็นเวลานานวันและได้รับการ พยาบาลจากพยาบาลระยะนี้เด็กจะหันกลับมาสนใจ
สิ่งแวดล้อมรอบตัว เหมือนกับว่าเด็กปรับตัวได้ จะหันไปสร้างสัมพันธภาพอย่างผิวเผืนกับเจ้าหน้าที่พยาบาลหลายๆ คน
แต่หลีกเลี่ยงที่จะ ไปใกล้ชิดกับใครคนใดคนหนึ่ง ไม่กล้เสียงที่จะใกล้ชิดและไว้วางใจบิดามารดาอีกต่อไป
วัยรุ่น พัฒนากลไกในการปุรับตัวต่อภาวะเครียดได้ดีกว่าเด็กวัยอื่นๆ มีความสามารถในการคิดด้วยนามธรรมได้มาก สื่อสารให้ผู้อื่นทราบถึงความต้องการได้ ประสบการณ์เกี่ยวกับชีวิตในอดีตจะมีความสำคัญสำหรับเด็กมาก
วัยเรียน เด็กวัยนี้จะเผชิญความเครียดุได้ดีกว่าเด็กเล็ก เนื่องจากเด็กมีประสบการณ์การไปโรงเรียน เต่จะกังวลที่ไม่ได้ปฏิบัติกิจกรรมหรืออยู่ในสิ่งแวดล้อมเดิม ปฏิกิริยาเด็กอาจจะมีเหงา เบี่อ ซึมเศร้า
พฤติกรรมถดถอย
เป็นกลไกการปรับตัวที่พบเสมอในเด็กวัยเดินและเด็กก่อน
วัยเรียน เด็กจะหยุดการุเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ หันกลับมาใช้
พฤติกรรมตั้งเดิม ซึ่งเป็นที่พึงพอใจของเด็กมากกว่า
การสูญเสียการควบคุมตัวเอง
เด็กวัยก่อนเรียน
การจำกัดการเคลื่อนไหว การให้เด็กนอนหงายนึ่ง
การได้รับให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ทำให้เด็กขาดความมั่นคงในตัวเอง
เด็กจะไม่ร่วมมือในการรักษาพยาบาล และต่อต้านอย่างรุนแรง
เด็กวัยเรียน
สามารถช่วยเหลือตัวเองได้โดยอิสระ ประสบผลสำเร็งในการควบคุมหน้าที่ของร่างกาย
มีความมั่นใจ สติญญข้องเด็กวัยนี้อยู่ในชั้นพัฒนด้วยูรูปธรรม
รับรู้ความจรึมากขึ้นความกล้ของเด็กป่วยวัยนี้
คือภาวะที่คุกคามการสูญเสียการควบคุม
วัยรุ่น
ความเจ็บป่วยที่จำกัดความสามารถทางร่างกายุ
จะทำให้เกิดการสูญเสียการควบคุม อาจจะมีปฏิกิริยาโต้ตอบโดยการปฏิเสธ
ไม่ยอมร่มมือแยกตัว เอาแต่ใจตัวเองโกรธ คับเค้นใจ
โดยไม่คำนึงถึงว่าเขาจะแสดงออกอย่างไร
การบาดเจ็บและความเจ็บปวด
เด็กวัยก่อนเรียน
สามารถพัฒนาความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการปฏิบัติที่เจ็บ
ปวด เด็กจึงมuปฏิกิริยาโต้ตอบที่รุนแรงและมองการปฏิบัติตรงๆเป็นการลงโทษ
เด็กวัยเรียน
เด็กวัยเรียนกลัวการบาดเจ็บ กลัวความตายเด็กสามารถ
มองเห็นความสัพันธ์ของเหตุผลต้องการคำอธิบายที่เป็นวิทยาศาสตร์
ในการอธิบายเกี่ยวกับโรค ความรู้สึก การรักษาพยาบาล
กลัวร่างกายเปลี่ยนเปลงไปจะทำให้แตกต่างจำกเพื่อนๆ และจะทำให้เพื่อนไม่ยอมรับ
วัยรุ่น
วัยรุ่นการบาดเจ็บ ความเจ็บปวดและความพิการนั้น
การปรับตัว
ปรับตัวโดยการเข้าหาผู้อื่น
ปรับตัวโดยการต่อสู้และต่อต้าน
ปรับตัวโดยการถอยหนีจากคนอื่น
จะเกิดผลกระทบกระเทือนมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับว่าวัยรุ่นได้
มองตัวเองในปัจจุบันเป็นอย่างไร การเปลี่ยนแปลงที่ทำให้วัยรุ่นแตกต่างจากเพื่อนนั้นทำให้เกิดความเครียดอย่าง
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
การตระหนักและการเคารพ
ให้ความสำคัญกับการตัดสินใจของสมาชิกในครอบครัว
ช่วยเหลือครอบครัวในการตัดสินใจในการดูแลเด็ก
ให้ความสำคัญกับสิ่งที่ครอบครัวกังวลหรือเห็นว่าสำคัญ
สนับสนุนครอบคร้ให้ทำหน้าที่ผู้ดูแลเด็กขณะเจ็บป่วยในโรงพยาบาล
ร่วมกับครอบคุรัวในการค้นหาทางเลือกต่างๆในการดูแลต่างๆ
การร่วมมือ
มีการสื่อสารในทางที่ดีเปิดเผย และต่อเนื่อง
ให้เกียรติซึ่งกันและกัน และให้ความไว้วางใจ
สื่อสารทำความเข้าใจถึงบทบาท และความคาดหวังของกันและกัน
วางเผนการดูแลรักษา และตัดสินใจร่วมกัน
มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จำเป็น
อธิบายคำศัพท์ทางการแพทย์ให้ครอบครัวให้เข้าใจ
ให้ข้อมูลบิดามารดาทั้งทางวาจาและลายลักษณ์อักษร
อธิบายเป้าหมายและเหตุผลของการพยาบาล
ตอบข้อสงสัยของบิดามารดา
เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการ ของบุคคลและครอบครัวเข้าในระบบบริการสุขภาพ
ลงมือปฏิบัติสนับสนุนเละช่วยเหลือครอบุครัวที่มีปัญหาทางด้นอารมณ์และเศรษฐกิจ เช่น ส่งปรึกษา สงคมสงเคราะห์เรื่องเงิน ส่งหน่วยปรึกษาเมื่อเกิดปัญหาการปรับตัวหรือความคับข้องใจ
ยอมรับว่าครอบครั้วมีจุดแข็ง และมีลักษณะเฉพาะ
ประเมินจุดแข็ง และมีวิธีการเผชิญปัญหาของครอบครัว
เปิดใจรับฟังความคิดเห็นของครอบครัว ค่านิยม ความ เชื่อและการตัดสินใจของครอบครัว
เสริมสร้างพลังอำนาจ ของ ครอบครัว โดยเริ่มจากจุดเข็งที่ครอบครัวมีอยู่
เคารผยอมรับในความหลากหลายของเชื้อชาติวัฒนธรรม ค่านิยมความเชื่อ และสังคม เศรษฐกิจของ ครอบครัว
กระตุ้นและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครอง
ให้คุณค่า ความสำคัญของการช่วยเหลือระหว่าง ครอบครัว
สนับสนุนความร่วมมือของเครือข่ายระหว่างกลุ่มเพทย์และเครือข่ายผู้ปกครอง
ส่งต่อครอบครัวไปยังเครือข่ายผู้ปกครอง
จัดบริการให้มีความความยึดหยุ่น เข้าถึงได้และตอบสนองความต้องการของครอบครัว
จัดหาวิธีการและทางเลือกของการรักษาให้กับบิดามารดา
สนับสนุน/กระตุ้นให้เกิดการดูแลแบบสหสาขา เพื่อ แลกเปลี่ยนข้อมูลที่สำคัญ
เกี่ยวกัการดูแลเด็กกับวิชาชีพอื่น
น.ส.อรอารี ศรีดอนไผ่ เลขที่ 61 รหัส 612001142 36/2