Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก, นางสาวอินทร์ธาลี ศุภศิระเศรษฐ์ ห้อง A…
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกปลายแขนหัก พบบ่อยในเด็กเริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่นเกิดจากการกระทำทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
กระดูกไหปลาร้าหัก (Fracture of clavicle)
อาการและอาการแสดง Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก ปวด บวม ข้างที่เป็น เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นึ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดลำตัว พักนาน 10-14 วัน ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 งอ
กระดูกต้นแขกหัก (Fracture of humerus)ในทารกแรกเกิดเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทำคลอดนำนิ้วเข้าไปเกี่ยวออก ส่วนในเด็กโตอาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง รักษาโดยอาจให้ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกข้อศอกหัก (Supracondylar fracture) เกิดจากการล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหนียดตรงหรือข้อศอกงอจะปวดบวมมาก โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น (Volkman's ischemic contracture) กระดูกหักบริเวณนี้อาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของกระดูก Humerus
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียสเกิดจากการหยอกล้อแล้วดึงแขนหรือหิ้วเด็กขึ้นมาตรงๆ
การพยาบาล ส่วนใหญ่เกิดจากอุบัติเหตุเราต้องคำนึงถึงส่วนอื่นๆที่อาจได้รับบาดเจ็บร่วมด้วย
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่มโดยประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง เข้าเฝือกปูน ดึงกระดูก ผ่าตัด ORIF
การดึงกระดูก (Traction)
Bryant's traction ในเด็กที่กระดูกต้นขาหักตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบหรือน้ำหนักไม่เกิน 13 กิโลกรัม
Over head traction หรือ Skeletal traction the upper limp ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน เป็นการเข้า tractionในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศากับลำตัว
Dunlop's traction ใช้ในเด็กที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่ได้หรือรายที่มีอาการบวมมาก
Skin traction ในรายที่มี facture shaft of femerus ในเด็กโต อายุมากกว่า 3 ขวบขึ้นไป traction แบบนี้้อาจเกิดปัญหาการกด peroneal nerve ทำให้เกิด foot drop ได้
Russell's traction ใช้ในเด็กโตที่มี Fracture shaft of femur การทำ traction ชนิดนี้อาจเกิดปัญหาการผ้า sling ที่คล้องใต้ขาไปกดเส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข่าได้
การผ่าตัด Open reduction internal fixation (ORIF) เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้ อาจใช้ plate, screw,nail หรือ wire
เตรียมความพร้อมก่อนผ่าตัด ด้านร่างกายและจิตใจ การพยาบาลผู้ป่วยหลังกลับจากห้องผ่าตัด ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย จัดท่านอนรายไม่หนุนหมอน
สังเกตอาการคลื่นไส้อาเจียน ประเมิน pain score ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด ประเมินการไหลเวียนของอวัยวะส่วนปลาย ประเมิน 6P
การพยาบาลเพื่อป้องการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดการเคลื่อนไหวป้องกันและลดอาการของอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ ป้องกันแผลกดทับกระตุ้นการหายใจไม่ให้ปอดแฟบจากการนอนนานๆลดอาการท้องผูก
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูกควรทำความสะอาดบาดแผลก่อนเข้าเฝือก ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้นจากลักษณะแผล สิ่งคัดหลั่ง ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
กระดูกหัก
การติดกันของกระดูกเด็ก มีคอลลาเจนมาประสานรอยแตกของกระดูก
การประเมินสภาพ ซักประวัติเกี่ยวกับอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ตรวจร่างกายทั่วไปพร้อมสังเกตภายนอกว่าเป็นกระดูกหักชนิดที่มีบาดแผลหรือไม่มีบาดแผล
การรักษา จุดประสงค์คือรักษาเด็กในภาวะฉุกเฉินคือ ช่วยชีวิตเด็กไว้ก่อนแก้ไขเรื่องทางเดินหายใจ การเสียเลือด ภาวะการณ์ไหลเวียนล้มเหลว ตามลำดับ
อาการและอาการแสดง มีอาการปวดและกดเจ็บบวมเนื่องจากมีเลือดจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน รอยจ้ำเขียว อวัยวะผิดรูป
สาเหตุ เกิดจากได้รับอุบัติเหตุนำมาก่อน มีแรงมากระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis) เกิดความพิการทางรูปร่างและผิดปกติของทรวงอกร่วมด้วยมีอาการซีด สมรรถภาพทางกายเสื่อม มีความผิดปกติของทางเดินหายใจ
พยาธิสรีรภาพ คือ การเจริญเติบโตผิดปกติของกระดูกสันหลังการอัมพาตของกล้ามเนื้อทำให้กระดูกเจริญเติบโตน้อยไม่เท่ากันทั้งสองข้าง
การวินิจฉัย ซักประวัติ การผ่าตัด ความพิการของกระดูกสันหลัง ตรวจร่างกาย สังเกตความพิการ X-ray
อาการและอาการแสดง กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น
การรักษา แบบอนุรักษ์นิยมคือ กายภาพบำบัด บริหารร่างกาย และรักษาด้วยการผ่าตัด
โรคคอเอียงแต่กำเนิดจากกล้ามเนื้อด้านข้างคอ sternocleidomastoid สั้นลงจากการที่เนื้อเยื่อบริเวณคอถูกกดขณะคลอด
อาการ มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียงและก้อนจะค่อยๆยุบลงไป การปล่อยให้คอเอียงนานๆจะส่งผลให้กะโหลกศีรษะใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง
การรักษา ยืดกล้ามเนื้อบริเวณที่หดสั้น ยืดโดยวิธีตัดจัดท่าให้นอนหงายจัดให้หูข้างตรงข้ามกับกล้ามเนื้อหดสั้นสัมผัสกับไหล่ข้างเดียวกัน ยืดให้เด็กหันศีรษะเอง สามารถจัดได้ ตอนให้นม ของเล่นหรือตอนนอน ถ้าการรักษาข้างต้นไม่สำเร็จหลังอายุมากกว่า 1 ปี ต้องทำการผ่าตัด
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน ได้แก่ Volkman's ischemic contracture คือลักษณะรูปร่างของนิ้ว มือ และแขนในผิดปกติ สาเหตุจาก กล้ามเนื้อบริเวณ forearm ขาดเลือดไปเลี้ยงหรือมีน้อย แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะเริ่มเป็น บวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว เจ็บและปวด นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ ชา ชีพจรคลำไม่ได้ชัด หรือไม่ได้
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อ บวม ตึง แข็ง และมีสีคล้ำ ข้อมือและข้อนิ้วแข็ง เนื่องจากไม่ได้ทำงานและจากการหดตัวของเยื่อบุข้อ
ระยะกล้ามเนื้อหดตัวpronstor และ floexr ของแขน มือและนิ้วทำให้มือและนิ้วงิก ใช้การไม่ได้
ป้องกันโดยจัดกระดูกให้เข้าที่่โดยเร็วที่สุด ขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่ๆอย่างอข้อศอกมากเกินไปแนะนำให้ยกบริเวณที่หักให้สูงกว่าระดับหัวใจตลอดเวลาควรนอนพักถ้าปวด บวม ชา ให้รีบหาหมอ
syudactyly ผ่าตัดเพื่อป้องกันความผิดปกติของการพัฒนาก้าวหน้าเป็นเด็กเติบโตขึ้น ภาวะแทรกซ้อนคือ hallux varus อาจก่อให้เกิดความปวดและความอยากง่ายในการสวมรองเท้า
นางสาวอินทร์ธาลี ศุภศิระเศรษฐ์ ห้อง A เลขที่ 100 รหัส 613601106